การที่จำเลยลักสมุดคู่ฝากเงินธนาคารของ ว.ไปแล้วปลอมลายมือชื่อของ ว.ลงในใบถอนเงินของธนาคาร และนำสมุดคู่ฝากเงินพร้อมใบถอนเงินไปแสดงต่อพนักงานธนาคารและรับเงินไป เป็นการกระทำที่มีเจตนามุ่งหมายเพื่อให้ได้เงินจากธนาคารเป็นหลัก การกระทำต่าง ๆ เป็นเพียงวิธีการเพื่อจะให้ได้เงินไปเท่านั้น แม้การกระทำแต่ละอย่างจะเป็นความผิดก็เป็นการกระทำกรรมเดียวผิดต่อกฎหมายหลายบท ที่จำเลยให้การรับสารภาพก็เป็นการรับว่าได้กระทำการต่าง ๆ ดังที่โจทก์ฟ้อง ส่วนที่จำเลยจะผิดกฎหมายบทใดเป็นอำนาจศาลจะพิจารณาวินิจฉัย
การที่จำเลยลักสมุดคู่ฝากเงินธนาคารของ ว.ไปแล้วปลอมลายมือชื่อของ ว.ลงในใบถอนเงินของธนาคาร และนำสมุดคู่ฝากเงินพร้อมใบถอนเงินไปแสดงต่อพนักงานธนาคารและรับเงินไป เป็นการกระทำที่มีเจตนามุ่งหมายเพื่อให้ได้เงินจากธนาคารเป็นหลัก การกระทำต่าง ๆ เป็นเพียงวิธีการเพื่อจะให้ได้เงินไปเท่านั้น แม้การกระทำแต่ละอย่างจะเป็นความผิดก็เป็นการกระทำกรรมเดียวผิดต่อกฎหมายหลายบท ที่จำเลยให้การรับสารภาพก็เป็นการรับว่าได้กระทำการต่าง ๆ ดังที่โจทก์ฟ้อง ส่วนที่จำเลยจะผิดกฎหมายบทใดเป็นอำนาจศาลจะพิจารณาวินิจฉัย
ความผิดฐานพรากผู้เยาว์ไปเพื่อการอนาจาร มุ่งหมายถึงการพรากผู้เยาว์ไปเพื่อการอันไม่สมควรทางเพศ แม้การกระทำของจำเลยจะไม่เป็นความผิดฐานอนาจารเนื่องจากผู้เสียหายยินยอม แต่ก็เป็นความผิดฐานพรากผู้เยาว์ไปเพื่อการอนาจารได้ การที่จำเลยพาผู้เสียหายไปนอนค้างคืนที่ขนำในสวนโดยผู้เสียหายเต็มใจไปด้วยแล้วจำเลยได้กอดปล้ำ หอมแก้ม และจับหน้าอกผู้เสียหายถือได้ว่าจำเลยกระทำการอันไม่สมควรทางเพศต่อผู้เสียหาย จำเลยจึงมีความผิดฐานพรากผู้เสียหายไปเพื่อการอนาจารตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 319 วรรคแรก แม้โจทก์จะฟ้องว่าจำเลยพรากผู้เยาว์โดยผู้เยาว์ไม่เต็มใจไปด้วย ตามมาตรา 318 แต่เมื่อข้อเท็จจริงได้ความว่าผู้เสียหายเต็มใจไปด้วยกับจำเลยอันเป็นกรณีตามมาตรา 319 ซึ่งมีโทษเบากว่าศาลย่อมลงโทษจำเลยตามมาตรา 319 ได้ เพราะการพรากผู้เยาว์ไปเพื่อการอนาจาร จะโดยผู้เยาว์เต็มใจไปด้วยหรือไม่ก็ตามประมวลกฎหมายอาญาบัญญัติว่าเป็นความผิดทั้งสองกรณี แม้บิดามารดาของผู้เสียหายจะออกไปนอกบ้านขณะที่ผู้เสียหายออกจากบ้านและจำเลยได้พาไปที่ขนำก็ตาม ยังถือว่าผู้เสียหายอยู่ในอำนาจปกครองของบิดามารดา การที่จำเลยพาผู้เสียหายไปที่ขนำจึงเป็นการพรากผู้เสียหายไปจากบิดามารดาแล้ว
โจทก์ฟ้อง ขอให้ลงโทษจำเลยตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 278, 310, 318, 339 ให้จำเลยคืนหรือใช้ราคาทรัพย์ที่ยังไม่ได้คืน 2,300 บาท แก่ผู้เสียหาย
จำเลยให้การปฏิเสธ
ศาลชั้นต้นพิพากษาว่า จำเลยมีความผิดตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 319 จำคุก 2 ปี ข้อหาอื่นให้ยก
จำเลยอุทธรณ์
ศาลอุทธรณ์พิพากษายืน
จำเลยฎีกา
ศาลฎีกาวินิจฉัยปัญหาข้อกฎหมายว่า ที่จำเลยฎีกาว่า เมื่อศาลชั้นต้นพิพากษายกฟ้องโจทก์ในความผิดฐานกระทำอนาจารผู้เสียหายจำเลยจึงไม่มีความผิดฐานพรากผู้เสียหายไปเพื่อการอนาจารตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 319 วรรคแรก นั้น เห็นว่า ความผิดฐานพรากผู้เยาว์ไปเพื่อการอนาจารมุ่งหมายถึงการพรากผู้เยาว์ไปเพื่อการอันไม่สมควรทางเพศ แม้การกระทำของจำเลยจะไม่เป็นความผิดฐานอนาจาร เนื่องจากผู้เสียหายยินยอมแต่ก็เป็นความผิดฐานพรากผู้เยาว์ไปเพื่อการอนาจารได้ การที่จำเลยพาผู้เสียหายไปนอนค้างคืนที่ขนำในสวนโดยผู้เสียหายเต็มใจไปด้วย แล้วจำเลยได้กอดปล้ำหอมแก้ม และจับหน้าอกผู้เสียหายถือได้ว่าจำเลยกระทำการอันไม่สมควรทางเพศต่อผู้เสียหายจำเลยจึงมีความผิดฐานพรากผู้เสียหายไปเพื่อการอนาจารตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 319 วรรคแรก
แม้โจทก์จะฟ้องว่าจำเลยพรากผู้เยาว์โดยผู้เยาว์ไม่เต็มใจไปด้วยตามมาตรา 318 แต่เมื่อข้อเท็จจริงได้ความว่าผู้เสียหายเต็มใจไปด้วยกับจำเลย อันเป็นกรณีตามมาตรา 319 ซึ่งมีโทษเบากว่า ศาลย่อมลงโทษจำเลยตามมาตรา 319 ได้ เพราะการพรากผู้เยาว์ไปเพื่อการอนาจารจะโดยผู้เยาว์เต็มใจไปด้วยหรือไม่ก็ตามประมวลกฎหมายอาญาบัญญัติว่าเป็นความผิดทั้งสองกรณี
แม้บิดามารดาของผู้เสียหายจะออกไปนอกบ้านขณะที่ผู้เสียหายออกจากบ้านและจำเลยได้พาไปที่ขนำก็ตาม ยังถือว่าผู้เสียหายอยู่ในอำนาจปกครองของบิดามารดา การที่จำเลยพาผู้เสียหายไปที่ขนำจึงเป็นการพรากผู้เสียหายไปจากบิดามารดาแล้ว
พิพากษาแก้เป็นว่า จำเลยมีความผิดตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 319 วรรคแรก และให้ปรับจำเลย 4,000 บาท อีกสถานหนึ่งโทษจำคุกให้รอการลงโทษไว้มีกำหนด 3 ปี ตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 56 ให้จำเลยไปรายงานตัวต่อพนักงานคุมประพฤติทุก 6 เดือนจนครบกำหนดระยะเวลารอการลงโทษ ไม่ชำระค่าปรับให้จัดการตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 29, 30 นอกจากที่แก้คงให้เป็นไปตามคำพิพากษาศาลอุทธรณ์
ความผิดฐานพรากผู้เยาว์ไปเพื่อการอนาจาร มุ่งหมายถึงการพรากผู้เยาว์ไปเพื่อการอันไม่สมควรทางเพศ แม้การกระทำของจำเลยจะไม่เป็นความผิดฐานอนาจารเนื่องจากผู้เสียหายยินยอม แต่ก็เป็นความผิดฐานพรากผู้เยาว์ไปเพื่อการอนาจารได้ การที่จำเลยพาผู้เสียหายไปนอนค้างคืนที่ขนำในสวนโดยผู้เสียหายเต็มใจไปด้วยแล้วจำเลยได้กอดปล้ำ หอมแก้ม และจับหน้าอกผู้เสียหายถือได้ว่าจำเลยกระทำการอันไม่สมควรทางเพศต่อผู้เสียหาย จำเลยจึงมีความผิดฐานพรากผู้เสียหายไปเพื่อการอนาจารตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 319 วรรคแรก แม้โจทก์จะฟ้องว่าจำเลยพรากผู้เยาว์โดยผู้เยาว์ไม่เต็มใจไปด้วย ตามมาตรา 318 แต่เมื่อข้อเท็จจริงได้ความว่าผู้เสียหายเต็มใจไปด้วยกับจำเลยอันเป็นกรณีตามมาตรา 319 ซึ่งมีโทษเบากว่าศาลย่อมลงโทษจำเลยตามมาตรา 319 ได้ เพราะการพรากผู้เยาว์ไปเพื่อการอนาจาร จะโดยผู้เยาว์เต็มใจไปด้วยหรือไม่ก็ตามประมวลกฎหมายอาญาบัญญัติว่าเป็นความผิดทั้งสองกรณี แม้บิดามารดาของผู้เสียหายจะออกไปนอกบ้านขณะที่ผู้เสียหายออกจากบ้านและจำเลยได้พาไปที่ขนำก็ตาม ยังถือว่าผู้เสียหายอยู่ในอำนาจปกครองของบิดามารดา การที่จำเลยพาผู้เสียหายไปที่ขนำจึงเป็นการพรากผู้เสียหายไปจากบิดามารดาแล้ว
โจทก์ฟ้อง ขอให้ลงโทษจำเลยตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 278, 310, 318, 339 ให้จำเลยคืนหรือใช้ราคาทรัพย์ที่ยังไม่ได้คืน 2,300 บาท แก่ผู้เสียหาย
จำเลยให้การปฏิเสธ
ศาลชั้นต้นพิพากษาว่า จำเลยมีความผิดตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 319 จำคุก 2 ปี ข้อหาอื่นให้ยก
จำเลยอุทธรณ์
ศาลอุทธรณ์พิพากษายืน
จำเลยฎีกา
ศาลฎีกาวินิจฉัยปัญหาข้อกฎหมายว่า ที่จำเลยฎีกาว่า เมื่อศาลชั้นต้นพิพากษายกฟ้องโจทก์ในความผิดฐานกระทำอนาจารผู้เสียหายจำเลยจึงไม่มีความผิดฐานพรากผู้เสียหายไปเพื่อการอนาจารตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 319 วรรคแรก นั้น เห็นว่า ความผิดฐานพรากผู้เยาว์ไปเพื่อการอนาจารมุ่งหมายถึงการพรากผู้เยาว์ไปเพื่อการอันไม่สมควรทางเพศ แม้การกระทำของจำเลยจะไม่เป็นความผิดฐานอนาจาร เนื่องจากผู้เสียหายยินยอมแต่ก็เป็นความผิดฐานพรากผู้เยาว์ไปเพื่อการอนาจารได้ การที่จำเลยพาผู้เสียหายไปนอนค้างคืนที่ขนำในสวนโดยผู้เสียหายเต็มใจไปด้วย แล้วจำเลยได้กอดปล้ำหอมแก้ม และจับหน้าอกผู้เสียหายถือได้ว่าจำเลยกระทำการอันไม่สมควรทางเพศต่อผู้เสียหายจำเลยจึงมีความผิดฐานพรากผู้เสียหายไปเพื่อการอนาจารตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 319 วรรคแรก
แม้โจทก์จะฟ้องว่าจำเลยพรากผู้เยาว์โดยผู้เยาว์ไม่เต็มใจไปด้วยตามมาตรา 318 แต่เมื่อข้อเท็จจริงได้ความว่าผู้เสียหายเต็มใจไปด้วยกับจำเลย อันเป็นกรณีตามมาตรา 319 ซึ่งมีโทษเบากว่า ศาลย่อมลงโทษจำเลยตามมาตรา 319 ได้ เพราะการพรากผู้เยาว์ไปเพื่อการอนาจารจะโดยผู้เยาว์เต็มใจไปด้วยหรือไม่ก็ตามประมวลกฎหมายอาญาบัญญัติว่าเป็นความผิดทั้งสองกรณี
แม้บิดามารดาของผู้เสียหายจะออกไปนอกบ้านขณะที่ผู้เสียหายออกจากบ้านและจำเลยได้พาไปที่ขนำก็ตาม ยังถือว่าผู้เสียหายอยู่ในอำนาจปกครองของบิดามารดา การที่จำเลยพาผู้เสียหายไปที่ขนำจึงเป็นการพรากผู้เสียหายไปจากบิดามารดาแล้ว
พิพากษาแก้เป็นว่า จำเลยมีความผิดตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 319 วรรคแรก และให้ปรับจำเลย 4,000 บาท อีกสถานหนึ่งโทษจำคุกให้รอการลงโทษไว้มีกำหนด 3 ปี ตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 56 ให้จำเลยไปรายงานตัวต่อพนักงานคุมประพฤติทุก 6 เดือนจนครบกำหนดระยะเวลารอการลงโทษ ไม่ชำระค่าปรับให้จัดการตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 29, 30 นอกจากที่แก้คงให้เป็นไปตามคำพิพากษาศาลอุทธรณ์
ความผิดฐานพรากผู้เยาว์ไปเพื่อการอนาจารมุ่งหมายถึงการพรากผู้เยาว์ไปเพื่อการอันไม่สมควรในทางเพศ แม้การกระทำของจำเลยจะไม่เป็นความผิดฐานอนาจาร เนื่องจากผู้เสียหายยินยอม แต่ก็เป็นความผิดฐานพรากผู้เยาว์ไปเพื่อการอนาจารได้ และแม้บิดามารดาของผู้เสียหายจะออกไปนอกบ้านขณะที่ผู้เสียหายออกจากบ้านและจำเลยได้พาไปที่ขนำก็ตาม ยังถือว่าผู้เสียหายอยู่ในอำนาจปกครองของบิดามารดา การที่จำเลยพาผู้เสียหายไปนอนค้างคืนที่ขนำในสวนโดยผู้เสียหายเต็มใจไปด้วย แล้วจำเลยได้กอดปล้ำหอมแก้มและจับหน้าอกผู้เสียหาย ถือได้ว่าจำเลยกระทำการอันไม่สมควรทางเพศต่อผู้เสียหายจำเลยจึงมีความผิดฐานพรากผู้เสียหายไปจากบิดามารดาเพื่อการอนาจารตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 319 วรรคแรก โจทก์ฟ้องว่าจำเลยพรากผู้เยาว์โดยผู้เยาว์ไม่เต็มใจไปด้วยตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 318 แต่ข้อเท็จจริงได้ความว่าผู้เสียหายเต็มใจไปด้วยกับจำเลยอันเป็นกรณีตามมาตรา 319 ซึ่งมีโทษเบากว่าศาลย่อมลงโทษจำเลยตามมาตรา 319 ได้ เพราะการพรากผู้เยาว์ไปเพื่อการอนาจารจะโดยผู้เยาว์เต็มใจไปด้วยหรือไม่ก็ตาม ประมวลกฎหมายอาญาบัญญัติว่าเป็นความผิดทั้งสองกรณี
โจทก์ฟ้องขอให้ลงโทษจำเลยตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 278,310, 318, 339 พระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายอาญา(ฉบับที่ 8) พ.ศ. 2530 มาตรา 4, 7 ประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 11ลงวันที่ 21 พฤศจิกายน 2514 ข้อ 14 ให้จำเลยคืนหรือใช้ราคาทรัพย์ที่ยังไม่ได้คืน 2,300 บาท แก่ผู้เสียหายด้วย
จำเลยให้การปฏิเสธ
ศาลชั้นต้นพิพากษาว่า จำเลยมีความผิดตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 319 จำคุก 2 ปี ข้อหาอื่นให้ยก
จำเลยอุทธรณ์
ศาลอุทธรณ์พิพากษายืน
จำเลยฎีกา
ศาลฎีกาวินิจฉัยว่า "ข้อเท็จจริงฟังเป็นยุติว่า ตามวันเวลาและสถานที่เกิดเหตุดังฟ้อง จำเลยได้พาผู้เสียหายซึ่งมีอายุ 16 ปีไปนอนค้างคืนที่ขนำในสวนโดยผู้เสียหายเต็มใจไปด้วย และระหว่างอยู่ที่ขนำจำเลยได้กอดปล้ำ หอมแก้มและจับหน้าอกผู้เสียหายพิเคราะห์แล้วจำเลยฎีกาพอสรุปเป็นข้อแรกได้ว่า เมื่อศาลชั้นต้นพิพากษายกฟ้องโจทก์ในความผิดฐานกระทำอนาจารผู้เสียหาย จำเลยจึงไม่มีความผิดฐานพรากผู้เสียหายไปเพื่อการอนาจารตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 319 วรรคแรก นั้น เห็นว่าความผิดฐานพรากผู้เยาว์ไปเพื่อการอนาจารมุ่งหมายถึงการพรากผู้เยาว์ไปเพื่อการอันไม่สมควรทางเพศแม้การกระทำของจำเลยจะไม่เป็นความผิดฐานอนาจาร เนื่องจากผู้เสียหายยินยอม แต่ก็เป็นความผิดฐานพรากผู้เยาว์ไปเพื่อการอนาจารได้ การที่จำเลยพาผู้เสียหายไปนอนค้างคืนที่ขนำในสวนโดยผู้เสียหายเต็มใจไปด้วย แล้วจำเลยได้กอดปล้ำ หอมแก้ม และจับหน้าอกผู้เสียหายถือได้ว่าจำเลยกระทำการอันไม่สมควรทางเพศต่อผู้เสียหาย จำเลยจึงมีความผิดฐานพรากผู้เสียหายไปเพื่อการอนาจาร ตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 319 วรรคแรก ฎีกาของจำเลยข้อนี้ฟังไม่ขึ้น
ฎีกาข้อถัดไปของจำเลยสรุปได้ว่า เมื่อฟังว่าผู้เสียหายเต็มใจไปกับจำเลย การกระทำของจำเลยย่อมไม่เป็นความผิดตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 318 จะลงโทษจำเลยตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 319 ไม่ได้เพราะข้อเท็จจริงตามที่ปรากฏในการพิจารณาแตกต่างกับข้อเท็จจริงดังที่กล่าวในฟ้องในข้อสาระสำคัญและจำเลยหลงต่อสู้ เห็นว่า การที่จำเลยพาผู้เสียหายซึ่งมีอายุ 16 ปีไปนอนค้างคืนที่ขนำในสวนโดยผู้เสียหายเต็มใจไปด้วย และระหว่างอยู่ที่ขนำจำเลยได้กอดปล้ำหอมแก้ม และจับหน้าอกผู้เสียหาย ถือได้ว่าจำเลยพรากผู้เยาว์ไปเพื่อการอนาจารอันเป็นความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 319แม้โจทก์จะฟ้องว่าจำเลยพรากผู้เยาว์โดยผู้เยาว์ไม่เต็มใจไปด้วยตามมาตรา 318 แต่เมื่อข้อเท็จจริงได้ความว่าผู้เสียหายเต็มใจไปด้วยกับจำเลย อันเป็นกรณีตามมาตรา 319 ซึ่งมีโทษเบากว่า ศาลย่อมลงโทษจำเลยตามมาตรา 319 ได้เพราะการพรากผู้เยาว์ไปเพื่อการอนาจารจะโดยผู้เยาว์เต็มใจไปด้วยหรือไม่ก็ตาม ประมวลกฎหมายอาญาบัญญัติว่าเป็นความผิดทั้งสองกรณี ฎีกาของจำเลยข้อนี้ฟังไม่ขึ้น
ฎีกาข้อสุดท้ายของจำเลยสรุปได้ว่า ขณะที่ผู้เสียหายออกจากบ้าน บิดามารดาของผู้เสียหายไม่อยู่บ้านและไม่ได้ความว่าคนในบ้านเป็นผู้ดูแล จำเลยจึงไม่ได้พรากผู้เสียหายไปจากบิดามารดาผู้ปกครองหรือผู้ดูแลนั้น เห็นว่า แม้บิดามารดาของผู้เสียหายจะออกไปนอกบ้านขณะที่ผู้เสียหายออกจากบ้านและจำเลยได้พาไปที่ขนำก็ตามยังถือว่าผู้เสียหายอยู่ในอำนาจปกครองของบิดามารดา การที่จำเลยพาผู้เสียหายไปที่ขนำ จึงเป็นการพรากผู้เสียหายไปจากบิดามารดาแล้ว ฎีกาของจำเลยฟังไม่ขึ้น
อนึ่ง ที่ศาลล่างทั้งสองพิพากษาลงโทษจำเลยตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 319 โดยไม่ระบุวรรคนั้นยังไม่ชัดเจนเห็นสมควรแก้เสียให้ชัดเจน และศาลฎีกาได้พิเคราะห์ถึงโทษที่สมควรลงแก่จำเลยแล้วเห็นว่า จำเลยมีอายุเพียง 19 ปี ประกอบอาชีพเป็นช่างซ่อมวิทยุในวันเกิดเหตุจำเลยเพียงแต่กอดปล้ำ หอมแก้ม และจับหน้าอกผู้เสียหายเมื่อผู้เสียหายขอร้อง จำเลยก็ปล่อย จำเลยไม่เคยต้องโทษจำคุกมาก่อน เพื่อให้โอกาสจำเลยกลับตัวเป็นพลเมืองดีเห็นสมควรให้รอการลงโทษจำเลยไว้ โดยกำหนดเงื่อนไขเพื่อคุมความประพฤติของจำเลยไว้ด้วย"
พิพากษาแก้เป็นว่า จำเลยมีความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา319 วรรคแรก และให้ปรับจำเลย 4,000 บาท อีกสถานหนึ่ง โทษจำคุกให้รอการลงโทษไว้มีกำหนด 3 ปี ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 56ให้จำเลยไปรายงานตัวต่อพนักงานคุมประพฤติทุก 6 เดือน จนครบกำหนดระยะเวลารอการลงโทษ ไม่ชำระค่าปรับให้จัดการตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 29, 30 นอกจากที่แก้คงให้เป็นไปตามคำพิพากษาศาลอุทธรณ์
ความผิดฐานพรากผู้เยาว์ไปเพื่อการอนาจารมุ่งหมายถึงการพรากผู้เยาว์ไปเพื่อการอันไม่สมควรในทางเพศ แม้การกระทำของจำเลยจะไม่เป็นความผิดฐานอนาจาร เนื่องจากผู้เสียหายยินยอม แต่ก็เป็นความผิดฐานพรากผู้เยาว์ไปเพื่อการอนาจารได้ และแม้บิดามารดาของผู้เสียหายจะออกไปนอกบ้านขณะที่ผู้เสียหายออกจากบ้านและจำเลยได้พาไปที่ขนำก็ตาม ยังถือว่าผู้เสียหายอยู่ในอำนาจปกครองของบิดามารดา การที่จำเลยพาผู้เสียหายไปนอนค้างคืนที่ขนำในสวนโดยผู้เสียหายเต็มใจไปด้วย แล้วจำเลยได้กอดปล้ำหอมแก้มและจับหน้าอกผู้เสียหาย ถือได้ว่าจำเลยกระทำการอันไม่สมควรทางเพศต่อผู้เสียหายจำเลยจึงมีความผิดฐานพรากผู้เสียหายไปจากบิดามารดาเพื่อการอนาจารตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 319 วรรคแรก โจทก์ฟ้องว่าจำเลยพรากผู้เยาว์โดยผู้เยาว์ไม่เต็มใจไปด้วยตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 318 แต่ข้อเท็จจริงได้ความว่าผู้เสียหายเต็มใจไปด้วยกับจำเลยอันเป็นกรณีตามมาตรา 319 ซึ่งมีโทษเบากว่าศาลย่อมลงโทษจำเลยตามมาตรา 319 ได้ เพราะการพรากผู้เยาว์ไปเพื่อการอนาจารจะโดยผู้เยาว์เต็มใจไปด้วยหรือไม่ก็ตาม ประมวลกฎหมายอาญาบัญญัติว่าเป็นความผิดทั้งสองกรณี
โจทก์ฟ้องขอให้ลงโทษจำเลยตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 278,310, 318, 339 พระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายอาญา(ฉบับที่ 8) พ.ศ. 2530 มาตรา 4, 7 ประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 11ลงวันที่ 21 พฤศจิกายน 2514 ข้อ 14 ให้จำเลยคืนหรือใช้ราคาทรัพย์ที่ยังไม่ได้คืน 2,300 บาท แก่ผู้เสียหายด้วย
จำเลยให้การปฏิเสธ
ศาลชั้นต้นพิพากษาว่า จำเลยมีความผิดตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 319 จำคุก 2 ปี ข้อหาอื่นให้ยก
จำเลยอุทธรณ์
ศาลอุทธรณ์พิพากษายืน
จำเลยฎีกา
ศาลฎีกาวินิจฉัยว่า "ข้อเท็จจริงฟังเป็นยุติว่า ตามวันเวลาและสถานที่เกิดเหตุดังฟ้อง จำเลยได้พาผู้เสียหายซึ่งมีอายุ 16 ปีไปนอนค้างคืนที่ขนำในสวนโดยผู้เสียหายเต็มใจไปด้วย และระหว่างอยู่ที่ขนำจำเลยได้กอดปล้ำ หอมแก้มและจับหน้าอกผู้เสียหายพิเคราะห์แล้วจำเลยฎีกาพอสรุปเป็นข้อแรกได้ว่า เมื่อศาลชั้นต้นพิพากษายกฟ้องโจทก์ในความผิดฐานกระทำอนาจารผู้เสียหาย จำเลยจึงไม่มีความผิดฐานพรากผู้เสียหายไปเพื่อการอนาจารตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 319 วรรคแรก นั้น เห็นว่าความผิดฐานพรากผู้เยาว์ไปเพื่อการอนาจารมุ่งหมายถึงการพรากผู้เยาว์ไปเพื่อการอันไม่สมควรทางเพศแม้การกระทำของจำเลยจะไม่เป็นความผิดฐานอนาจาร เนื่องจากผู้เสียหายยินยอม แต่ก็เป็นความผิดฐานพรากผู้เยาว์ไปเพื่อการอนาจารได้ การที่จำเลยพาผู้เสียหายไปนอนค้างคืนที่ขนำในสวนโดยผู้เสียหายเต็มใจไปด้วย แล้วจำเลยได้กอดปล้ำ หอมแก้ม และจับหน้าอกผู้เสียหายถือได้ว่าจำเลยกระทำการอันไม่สมควรทางเพศต่อผู้เสียหาย จำเลยจึงมีความผิดฐานพรากผู้เสียหายไปเพื่อการอนาจาร ตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 319 วรรคแรก ฎีกาของจำเลยข้อนี้ฟังไม่ขึ้น
ฎีกาข้อถัดไปของจำเลยสรุปได้ว่า เมื่อฟังว่าผู้เสียหายเต็มใจไปกับจำเลย การกระทำของจำเลยย่อมไม่เป็นความผิดตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 318 จะลงโทษจำเลยตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 319 ไม่ได้เพราะข้อเท็จจริงตามที่ปรากฏในการพิจารณาแตกต่างกับข้อเท็จจริงดังที่กล่าวในฟ้องในข้อสาระสำคัญและจำเลยหลงต่อสู้ เห็นว่า การที่จำเลยพาผู้เสียหายซึ่งมีอายุ 16 ปีไปนอนค้างคืนที่ขนำในสวนโดยผู้เสียหายเต็มใจไปด้วย และระหว่างอยู่ที่ขนำจำเลยได้กอดปล้ำหอมแก้ม และจับหน้าอกผู้เสียหาย ถือได้ว่าจำเลยพรากผู้เยาว์ไปเพื่อการอนาจารอันเป็นความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 319แม้โจทก์จะฟ้องว่าจำเลยพรากผู้เยาว์โดยผู้เยาว์ไม่เต็มใจไปด้วยตามมาตรา 318 แต่เมื่อข้อเท็จจริงได้ความว่าผู้เสียหายเต็มใจไปด้วยกับจำเลย อันเป็นกรณีตามมาตรา 319 ซึ่งมีโทษเบากว่า ศาลย่อมลงโทษจำเลยตามมาตรา 319 ได้เพราะการพรากผู้เยาว์ไปเพื่อการอนาจารจะโดยผู้เยาว์เต็มใจไปด้วยหรือไม่ก็ตาม ประมวลกฎหมายอาญาบัญญัติว่าเป็นความผิดทั้งสองกรณี ฎีกาของจำเลยข้อนี้ฟังไม่ขึ้น
ฎีกาข้อสุดท้ายของจำเลยสรุปได้ว่า ขณะที่ผู้เสียหายออกจากบ้าน บิดามารดาของผู้เสียหายไม่อยู่บ้านและไม่ได้ความว่าคนในบ้านเป็นผู้ดูแล จำเลยจึงไม่ได้พรากผู้เสียหายไปจากบิดามารดาผู้ปกครองหรือผู้ดูแลนั้น เห็นว่า แม้บิดามารดาของผู้เสียหายจะออกไปนอกบ้านขณะที่ผู้เสียหายออกจากบ้านและจำเลยได้พาไปที่ขนำก็ตามยังถือว่าผู้เสียหายอยู่ในอำนาจปกครองของบิดามารดา การที่จำเลยพาผู้เสียหายไปที่ขนำ จึงเป็นการพรากผู้เสียหายไปจากบิดามารดาแล้ว ฎีกาของจำเลยฟังไม่ขึ้น
อนึ่ง ที่ศาลล่างทั้งสองพิพากษาลงโทษจำเลยตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 319 โดยไม่ระบุวรรคนั้นยังไม่ชัดเจนเห็นสมควรแก้เสียให้ชัดเจน และศาลฎีกาได้พิเคราะห์ถึงโทษที่สมควรลงแก่จำเลยแล้วเห็นว่า จำเลยมีอายุเพียง 19 ปี ประกอบอาชีพเป็นช่างซ่อมวิทยุในวันเกิดเหตุจำเลยเพียงแต่กอดปล้ำ หอมแก้ม และจับหน้าอกผู้เสียหายเมื่อผู้เสียหายขอร้อง จำเลยก็ปล่อย จำเลยไม่เคยต้องโทษจำคุกมาก่อน เพื่อให้โอกาสจำเลยกลับตัวเป็นพลเมืองดีเห็นสมควรให้รอการลงโทษจำเลยไว้ โดยกำหนดเงื่อนไขเพื่อคุมความประพฤติของจำเลยไว้ด้วย"
พิพากษาแก้เป็นว่า จำเลยมีความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา319 วรรคแรก และให้ปรับจำเลย 4,000 บาท อีกสถานหนึ่ง โทษจำคุกให้รอการลงโทษไว้มีกำหนด 3 ปี ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 56ให้จำเลยไปรายงานตัวต่อพนักงานคุมประพฤติทุก 6 เดือน จนครบกำหนดระยะเวลารอการลงโทษ ไม่ชำระค่าปรับให้จัดการตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 29, 30 นอกจากที่แก้คงให้เป็นไปตามคำพิพากษาศาลอุทธรณ์
ความผิดฐานพรากผู้เยาว์ไปเพื่อการอนาจาร มุ่งหมายถึงการพรากผู้เยาว์ไปเพื่อการอันไม่สมควรทางเพศ แม้การกระทำของจำเลยจะไม่เป็นความผิดฐานอนาจารเนื่องจากผู้เสียหายยินยอม แต่ก็เป็นความผิดฐานพรากผู้เยาว์ไปเพื่อการอนาจารได้ การที่จำเลยพาผู้เสียหายไปนอนค้างคืนที่ขนำในสวนโดยผู้เสียหายเต็มใจไปด้วย แล้วจำเลยได้กอดปล้ำ หอมแก้ม และจับหน้าอกผู้เสียหายถือได้ว่าจำเลยกระทำการอันไม่สมควรทางเพศต่อผู้เสียหาย จำเลยจึงมีความผิดฐานพรากผู้เสียหายไปเพื่อการอนาจารตาม ป.อ. มาตรา 319 วรรคแรก
แม้โจทก์จะฟ้องว่าจำเลยพรากผู้เยาว์โดยผู้เยาว์ไม่เต็มใจไปด้วย ตามมาตรา 318 แต่เมื่อข้อเท็จจริงได้ความว่าผู้เสียหายเต็มใจไปด้วยกับจำเลยอันเป็นกรณีตามมาตรา 319 ซึ่งมีโทษเบากว่า ศาลย่อมลงโทษจำเลยตามมาตรา 319 ได้ เพราะการพรากผู้เยาว์ไปเพื่อการอนาจาร จะโดยผู้เยาว์เต็มใจไปด้วยหรือไม่ก็ตาม ประมวลกฎหมายอาญาบัญญัติว่าเป็นความผิดทั้งสองกรณี
แม้บิดามารดาของผู้เสียหายจะออกไปนอกบ้านขณะที่ผู้เสียหายออกจากบ้านและจำเลยได้พาไปที่ขนำก็ตาม ยังถือว่าผู้เสียหายอยู่ในอำนาจปกครองของบิดามารดา การที่จำเลยพาผู้เสียหายไปที่ขนำ จึงเป็นการพรากผู้เสียหายไปจากบิดามารดาแล้ว
ความผิดฐานพรากผู้เยาว์ไปเพื่อการอนาจาร มุ่งหมายถึงการพรากผู้เยาว์ไปเพื่อการอันไม่สมควรทางเพศ แม้การกระทำของจำเลยจะไม่เป็นความผิดฐานอนาจารเนื่องจากผู้เสียหายยินยอม แต่ก็เป็นความผิดฐานพรากผู้เยาว์ไปเพื่อการอนาจารได้ การที่จำเลยพาผู้เสียหายไปนอนค้างคืนที่ขนำในสวนโดยผู้เสียหายเต็มใจไปด้วย แล้วจำเลยได้กอดปล้ำ หอมแก้ม และจับหน้าอกผู้เสียหายถือได้ว่าจำเลยกระทำการอันไม่สมควรทางเพศต่อผู้เสียหาย จำเลยจึงมีความผิดฐานพรากผู้เสียหายไปเพื่อการอนาจารตาม ป.อ. มาตรา 319 วรรคแรก
แม้โจทก์จะฟ้องว่าจำเลยพรากผู้เยาว์โดยผู้เยาว์ไม่เต็มใจไปด้วย ตามมาตรา 318 แต่เมื่อข้อเท็จจริงได้ความว่าผู้เสียหายเต็มใจไปด้วยกับจำเลยอันเป็นกรณีตามมาตรา 319 ซึ่งมีโทษเบากว่า ศาลย่อมลงโทษจำเลยตามมาตรา 319 ได้ เพราะการพรากผู้เยาว์ไปเพื่อการอนาจาร จะโดยผู้เยาว์เต็มใจไปด้วยหรือไม่ก็ตาม ประมวลกฎหมายอาญาบัญญัติว่าเป็นความผิดทั้งสองกรณี
แม้บิดามารดาของผู้เสียหายจะออกไปนอกบ้านขณะที่ผู้เสียหายออกจากบ้านและจำเลยได้พาไปที่ขนำก็ตาม ยังถือว่าผู้เสียหายอยู่ในอำนาจปกครองของบิดามารดา การที่จำเลยพาผู้เสียหายไปที่ขนำ จึงเป็นการพรากผู้เสียหายไปจากบิดามารดาแล้ว
ฎีกาของจำเลยทั้งสองมิได้กล่าวถึงคำพิพากษาศาลชั้นต้นและคำพิพากษาศาลอุทธรณ์ภาค 1 โดยบรรยายในฎีกาเพียงว่าศาลอุทธรณ์ภาค 1 ฟังข้อเท็จจริงไม่ถูกต้อง และเอกสารหมาย จ.1รับฟังไม่ได้ ซึ่งเมื่ออ่านฎีกาของจำเลยทั้งสองโดยตลอดแล้ว ไม่อาจทราบได้ว่าคดีนี้ศาลอุทธรณ์พิพากษาว่าอย่างไร ทั้งไม่อาจทราบได้ว่าข้อที่จำเลยทั้งสองยกขึ้นฎีกานั้น เป็นข้อที่ได้ยกขึ้นว่ากันมาแล้วในศาลชั้นต้นและศาลอุทธรณ์หรือไม่ ฎีกาของจำเลยทั้งสองจึงเป็นฎีกาที่ไม่ชัดแจ้งตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 249 วรรคแรกศาลฎีกาจึงไม่อาจรับไว้วินิจฉัยได้
โจทก์ฟ้องจำเลยที่ 1 กู้ยืมเงินโจทก์ โดยมีจำเลยที่ 2 เป็นผู้ค้ำประกัน ขอบังคับให้จำเลยทั้งสองร่วมกันหรือแทนกันชำระหนี้จำนวน 32,250 บาท พร้อมดอกเบี้ย
จำเลยทั้งสองให้การว่า จำเลยทั้งสองได้กู้เงินโจทก์เพียง5,000 บาท จำเลยที่ 1 ลงลายมือชื่อในสัญญากู้ และจำเลยที่ 2ลงลายมือชื่อในสัญญาค้ำประกัน โดยที่สัญญาดังกล่าวมิได้กรอกข้อความไว้ ต่อมาโจทก์กรอกข้อความเขียนจำนวนเงินกู้เป็น 30,000 บาทโดยมิได้รับความยินยอมจากจำเลยทั้งสอง สัญญากู้และสัญญาค้ำประกันเป็นเอกสารปลอม
ศาลชั้นต้นพิพากษายกฟ้อง
โจทก์อุทธรณ์
ศาลอุทธรณ์ภาค 1 พิพากษากลับ ให้จำเลยที่ 1 ชำระเงิน30,000 บาท พร้อมดอกเบี้ย
จำเลยทั้งสองฎีกา โดยผู้พิพากษาที่นั่งพิจารณาคดีในศาลชั้นต้นรับรองให้ฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริง
ศาลฎีกาวินิจฉัยข้อกฎหมายว่า ฟ้องฎีกาต้องเป็นข้อที่ได้ยกขึ้นว่ากันมาแล้วในศาลชั้นต้นและศาลอุทธรณ์ ฎีกาของจำเลยทั้งสองมิได้กล่าวถึงคำพิพากษาศาลชั้นต้น และคำพิพากษาศาลอุทธรณ์ภาค 1โดยบรรยายในฎีกาเพียงว่า ศาลอุทธรณ์ภาค 1 ฟังข้อเท็จจริงไม่ถูกต้อง และเอกสารหมาย จ.1 รับฟังไม่ได้ ซึ่งเมื่ออ่านฎีกาของจำเลยทั้งสองโดยตลอดแล้ว ไม่อาจทราบได้ว่าคดีนี้ศาลอุทธรณ์พิพากษาว่าอย่างไร ทั้งไม่อาจทราบได้ว่าข้อที่จำเลยทั้งสองยกขึ้นฎีกานั้นเป็นข้อที่ได้ยกขึ้นว่ากันมาแล้วในศาลชั้นต้นและศาลอุทธรณ์หรือไม่ฎีกาของจำเลยทั้งสองจึงเป็นฎีกาที่ไม่ชัดแจ้งตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 249 วรรคแรก ศาลฎีกาจึงไม่อาจรับไว้วินิจฉัยได้
พิพากษายกฎีกาของจำเลยทั้งสอง
ฎีกาของจำเลยทั้งสองมิได้กล่าวถึงคำพิพากษาศาลชั้นต้นและคำพิพากษาศาลอุทธรณ์ภาค 1 โดยบรรยายในฎีกาเพียงว่าศาลอุทธรณ์ภาค 1 ฟังข้อเท็จจริงไม่ถูกต้อง และเอกสารหมาย จ.1รับฟังไม่ได้ ซึ่งเมื่ออ่านฎีกาของจำเลยทั้งสองโดยตลอดแล้ว ไม่อาจทราบได้ว่าคดีนี้ศาลอุทธรณ์พิพากษาว่าอย่างไร ทั้งไม่อาจทราบได้ว่าข้อที่จำเลยทั้งสองยกขึ้นฎีกานั้น เป็นข้อที่ได้ยกขึ้นว่ากันมาแล้วในศาลชั้นต้นและศาลอุทธรณ์หรือไม่ ฎีกาของจำเลยทั้งสองจึงเป็นฎีกาที่ไม่ชัดแจ้งตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 249 วรรคแรกศาลฎีกาจึงไม่อาจรับไว้วินิจฉัยได้
โจทก์ฟ้องจำเลยที่ 1 กู้ยืมเงินโจทก์ โดยมีจำเลยที่ 2 เป็นผู้ค้ำประกัน ขอบังคับให้จำเลยทั้งสองร่วมกันหรือแทนกันชำระหนี้จำนวน 32,250 บาท พร้อมดอกเบี้ย
จำเลยทั้งสองให้การว่า จำเลยทั้งสองได้กู้เงินโจทก์เพียง5,000 บาท จำเลยที่ 1 ลงลายมือชื่อในสัญญากู้ และจำเลยที่ 2ลงลายมือชื่อในสัญญาค้ำประกัน โดยที่สัญญาดังกล่าวมิได้กรอกข้อความไว้ ต่อมาโจทก์กรอกข้อความเขียนจำนวนเงินกู้เป็น 30,000 บาทโดยมิได้รับความยินยอมจากจำเลยทั้งสอง สัญญากู้และสัญญาค้ำประกันเป็นเอกสารปลอม
ศาลชั้นต้นพิพากษายกฟ้อง
โจทก์อุทธรณ์
ศาลอุทธรณ์ภาค 1 พิพากษากลับ ให้จำเลยที่ 1 ชำระเงิน30,000 บาท พร้อมดอกเบี้ย
จำเลยทั้งสองฎีกา โดยผู้พิพากษาที่นั่งพิจารณาคดีในศาลชั้นต้นรับรองให้ฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริง
ศาลฎีกาวินิจฉัยข้อกฎหมายว่า ฟ้องฎีกาต้องเป็นข้อที่ได้ยกขึ้นว่ากันมาแล้วในศาลชั้นต้นและศาลอุทธรณ์ ฎีกาของจำเลยทั้งสองมิได้กล่าวถึงคำพิพากษาศาลชั้นต้น และคำพิพากษาศาลอุทธรณ์ภาค 1โดยบรรยายในฎีกาเพียงว่า ศาลอุทธรณ์ภาค 1 ฟังข้อเท็จจริงไม่ถูกต้อง และเอกสารหมาย จ.1 รับฟังไม่ได้ ซึ่งเมื่ออ่านฎีกาของจำเลยทั้งสองโดยตลอดแล้ว ไม่อาจทราบได้ว่าคดีนี้ศาลอุทธรณ์พิพากษาว่าอย่างไร ทั้งไม่อาจทราบได้ว่าข้อที่จำเลยทั้งสองยกขึ้นฎีกานั้นเป็นข้อที่ได้ยกขึ้นว่ากันมาแล้วในศาลชั้นต้นและศาลอุทธรณ์หรือไม่ฎีกาของจำเลยทั้งสองจึงเป็นฎีกาที่ไม่ชัดแจ้งตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 249 วรรคแรก ศาลฎีกาจึงไม่อาจรับไว้วินิจฉัยได้
พิพากษายกฎีกาของจำเลยทั้งสอง
ฎีกาของจำเลยทั้งสองมิได้กล่าวถึงคำพิพากษาศาลชั้นต้นและคำพิพากษาศาลอุทธรณ์ภาค 1 โดยบรรยายในฎีกาเพียงว่า ศาลอุทธรณ์ภาค 1ฟังข้อเท็จจริงไม่ถูกต้อง และเอกสารหมาย จ.1 รับฟังไม่ได้ ซึ่งเมื่ออ่านฎีกาของจำเลยทั้งสองโดยตลอดแล้ว ไม่อาจทราบได้ว่าคดีนี้ศาลอุทธรณ์พิพากษาว่าอย่างไร ทั้งไม่อาจทราบได้ว่าข้อที่จำเลยทั้งสองยกขึ้นฎีกานั้น เป็นข้อที่ได้ยกขึ้นว่ากันมาแล้วในศาลชั้นต้นและศาลอุทธรณ์หรือไม่ ฎีกาของจำเลยทั้งสองจึงเป็นฎีกาที่ไม่ชัดแจ้งตาม ป.วิ.พ. มาตรา 249 วรรคแรก ศาลฎีกาจึงไม่อาจรับไว้วินิจฉัยได้
ฎีกาของจำเลยทั้งสองมิได้กล่าวถึงคำพิพากษาศาลชั้นต้นและคำพิพากษาศาลอุทธรณ์ภาค 1 โดยบรรยายในฎีกาเพียงว่า ศาลอุทธรณ์ภาค 1ฟังข้อเท็จจริงไม่ถูกต้อง และเอกสารหมาย จ.1 รับฟังไม่ได้ ซึ่งเมื่ออ่านฎีกาของจำเลยทั้งสองโดยตลอดแล้ว ไม่อาจทราบได้ว่าคดีนี้ศาลอุทธรณ์พิพากษาว่าอย่างไร ทั้งไม่อาจทราบได้ว่าข้อที่จำเลยทั้งสองยกขึ้นฎีกานั้น เป็นข้อที่ได้ยกขึ้นว่ากันมาแล้วในศาลชั้นต้นและศาลอุทธรณ์หรือไม่ ฎีกาของจำเลยทั้งสองจึงเป็นฎีกาที่ไม่ชัดแจ้งตาม ป.วิ.พ. มาตรา 249 วรรคแรก ศาลฎีกาจึงไม่อาจรับไว้วินิจฉัยได้
ผู้กล่าวหาเป็นลูกจ้างตำแหน่งระดับหัวหน้าซึ่งเป็นผู้บังคับบัญชาที่มีอำนาจในการลงโทษผู้ใต้บังคับบัญชาตามระเบียบข้อบังคับการทำงานของโจทก์ผู้กล่าวหาจะเป็นสมาชิกสหภาพแรงงานที่ลูกจ้างอื่นได้จัดตั้งขึ้นหรือเป็นสมาชิกอยู่ไม่ได้ ตามพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์ พ.ศ. 2518 มาตรา 95 วรรคสองการที่ผู้กล่าวหาเข้าเป็นสมาชิกสหภาพแรงงานของลูกจ้างอื่น ย่อมทำให้การเป็นสมาชิกสหภาพแรงงานนั้นไม่มีผลตามกฎหมาย เพราะขัดต่อบทบัญญัติแห่ง พระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์ พ.ศ. 2518 ดังกล่าวแต่ตามระเบียบข้อบังคับการทำงานของโจทก์ไม่ได้กำหนดให้โจทก์มีอำนาจเพิกถอนตำแหน่งระดับหัวหน้าของลูกจ้าง ในกรณีที่ลูกจ้างนั้นสมัครเข้าเป็นสมาชิกสหภาพแรงงานของลูกจ้างอื่น และไม่มีบทบัญญัติแห่งกฎหมายใดให้อำนาจโจทก์ที่จะกระทำการเช่นว่านั้นได้โจทก์จึงเพิกถอนตำแหน่งระดับหัวหน้าของผู้กล่าวหาไม่ได้
โจทก์ฟ้องว่า โจทก์เป็นนิติบุคคลประเภทบริษัทจำกัด จำเลยทั้งสิบสองคนเป็นคณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์ ได้มีคำสั่งที่ 11/2536ลงวันที่ 7 พฤษภาคม 2536 ความว่า คำสั่งของโจทก์ที่ให้เพิกถอนตำแหน่งหัวหน้างานของลูกจ้างโจทก์เป็นการกระทำอันไม่เป็นธรรมจึงให้เพิกถอนและแต่งตั้งให้นางสาวนันทา เชยหอม นางวัฒนา ละมูลนางแจง กันรักษา และนายทวาย อินทร์ผักแว่น ลูกจ้างของโจทก์ดำรงตำแหน่งหัวหน้าแผนก และปฏิบัติงานในตำแหน่งหน้าที่ไม่ต่ำกว่าตำแหน่งเดิม โจทก์เห็นว่าคำสั่งดังกล่าวไม่ชอบด้วยกฎหมาย เพราะนางสาวนันทา นางวัฒนา นางแจง และนายทวาย มีตำแหน่งเป็นหัวหน้างานมีอำนาจในการให้คุณให้โทษแก่ผู้ใต้บังคับบัญชาโดยตรง ได้สมัครเข้าเป็นสมาชิกสหภาพแรงงานส่งเสริมสิ่งทอไทย ซึ่งเป็นการขัดต่อพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์ พ.ศ. 2518 มาตรา 95 และบุคคลทั้งสี่ได้เข้าร่วมในภารกิจหรือกิจกรรมต่าง ๆ ของสหภาพแรงงานส่งเสริมสิ่งทอไทยตลอดมา ทำให้โจทก์เสียหาย การที่โจทก์มีคำสั่งเพิกถอนตำแหน่งหัวหน้างานของบุคคลทั้งสี่ดังกล่าวจึงไม่ถือว่าเป็นการฝ่าฝืนพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์ พ.ศ. 2518 มาตรา 121 ขอให้พิพากษาเพิกถอนคำสั่งของจำเลยที่ 11/2536 ลงวันที่ 7 พฤษภาคม 2536
ระหว่างพิจารณา โจทก์ขอถอนฟ้องเฉพาะจำเลยที่ 1 ศาลแรงงานกลางอนุญาต และอนุญาตตามคำขอของโจทก์ให้เรียกนายประมูล จันทรจำนงเข้ามาเป็นจำเลยร่วม
จำเลยและจำเลยร่วมให้การว่า การกระทำของโจทก์ที่มีคำสั่งโยกย้ายนางสาวนันทา เชยหอม นางวัฒนา ละมูล นางแจง กันรักษาและนายทวาย อินทร์ผักแว่น ผู้กล่าวหาซึ่งเป็นลูกจ้างของโจทก์เป็นการกระทำอันไม่เป็นธรรม คำสั่งของจำเลยและจำเลยร่วมที่ 11/2536ลงวันที่ 7 พฤษภาคม 2536 นั้นชอบแล้ว การเป็นสมาชิกสหภาพแรงงานของผู้กล่าวหาทั้งสี่ไม่ขัดต่อกฎหมายเพราะผู้กล่าวหาทั้งสี่มิใช่ผู้บังคับบัญชาที่มีอำนาจในการจ้าง การลดค่าจ้าง การเลิกจ้างการให้บำเหน็จ หรือการลงโทษ ผู้กล่าวหาที่หนึ่งถึงที่สามไม่มีผู้ใต้บังคับบัญชา ส่วนผู้กล่าวหาที่สี่มีอำนาจเพียงว่ากล่าวตักเตือนผู้ใต้บังคับบัญชาเท่านั้น ไม่มีอำนาจในการลงโทษสถานอื่นข้อบังคับของโจทก์ไม่ได้ห้ามบุคคลที่มีตำแหน่งหัวหน้างานเป็นสมาชิกสหภาพแรงงาน และไม่มีข้อบังคับว่าถ้าลูกจ้างซึ่งเป็นผู้บังคับบัญชาเป็นสมาชิกสหภาพแรงงานแล้ว ให้โจทก์มีอำนาจปลดจากการเป็นผู้บังคับบัญชาได้ การกระทำของโจทก์ที่เพิกถอนตำแหน่งหัวหน้างานของผู้กล่าวหาทั้งสี่ให้ไปดำรงตำแหน่งพนักงานทั่วไปและไม่ให้พักอาศัยอยู่ในหอพัก ย่อมทำให้ผู้กล่าวหาทั้งสี่ได้รับความเสียหาย ไม่สามารถอยู่ในหอพักได้ตามสิทธิ และการปรับค่าจ้างนั้น ผู้กล่าวหาทั้งสี่ได้รับการปรับค่าจ้างต่ำกว่าอัตราที่หัวหน้างานทั่วไปจะได้รับ การที่โจทก์มีคำสั่งเพิกถอนตำแหน่งหัวหน้างานของผู้กล่าวหาทั้งสี่โจทก์ไม่มีอำนาจกระทำได้ จึงเป็นการกระทำที่ไม่เป็นธรรมทำให้ลูกจ้างไม่สามารถทนทำงานอยู่ต่อไปได้เป็นการต้องห้ามตามมาตรา 121 แห่งพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์พ.ศ. 2518 ขอให้ยกฟ้อง
ศาลแรงงานกลางพิจารณาแล้ววินิจฉัยว่า นางสาวนันทา นางวัฒนานางแจง และนายทวาย ผู้กล่าวหาเป็นลูกจ้างของโจทก์ในตำแหน่งระดับหัวหน้าซึ่งเป็นผู้บังคับบัญชาที่มีอำนาจลงโทษผู้ใต้บังคับบัญชาโดยการตักเตือนด้วยวาจาหรือเป็นหนังสือได้ตามระเบียบข้อบังคับการทำงานของโจทก์ และผู้กล่าวหาทั้งสี่ดังกล่าวเป็นสมาชิกสหภาพแรงงานส่งเสริมสิ่งทอไทย โจทก์มีคำสั่งเพิกถอนผู้กล่าวหาทั้งสี่จากตำแหน่งระดับหัวหน้า เนื่องจากผู้กล่าวหาทั้งสี่ได้ร่วมลงลายมือชื่อในการยื่นข้อเรียกร้องที่สหภาพแรงงานส่งเสริมสิ่งทอไทยยื่นข้อเรียกร้องต่อโจทก์ และร่วมใช้สิทธินัดหยุดงาน มีลักษณะเป็นการกลั่นแกล้งเพิกถอนตำแหน่งระดับหัวหน้าของผู้กล่าวหาทั้งสี่ เป็นการเปลี่ยนแปลงสภาพการจ้างซึ่งโจทก์จะกระทำมิได้ การที่จำเลยและจำเลยร่วมมีคำสั่งให้เพิกถอนคำสั่งของโจทก์ และให้ผู้กล่าวหาทั้งสี่ดำรงตำแหน่งระดับหัวหน้า และปฏิบัติงานในตำแหน่งหน้าที่ไม่ต่ำกว่าตำแหน่งเดิมนั้นชอบแล้ว ไม่มีเหตุที่จะเพิกถอนคำสั่งของจำเลยและจำเลยร่วม พิพากษายกฟ้อง
โจทก์อุทธรณ์ต่อศาลฎีกา
ศาลฎีกาแผนกคดีแรงงานวินิจฉัยว่า โจทก์อุทธรณ์ว่า การที่ผู้กล่าวหาทั้งสี่ซึ่งเป็นลูกจ้างของโจทก์ตำแหน่งระดับหัวหน้ามีอำนาจลงโทษผู้ใต้บังคับบัญชาตามระเบียบข้อบังคับการทำงานของโจทก์ได้สมัครเข้าเป็นสมาชิกสหภาพแรงงานส่งเสริมสิ่งทอไทย เป็นการขัดต่อพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์ พ.ศ. 2518 มาตรา 95 ถือได้ว่าผู้กล่าวหาทั้งสี่กระทำการเป็นปฏิปักษ์ต่อโจทก์ โจทก์จึงมีสิทธิที่จะเพิกถอนตำแหน่งระดับหัวหน้าของผู้กล่าวหาทั้งสี่ได้ เห็นว่าผู้กล่าวหาทั้งสี่เป็นลูกจ้างตำแหน่งระดับหัวหน้าซึ่งเป็นผู้บังคับบัญชาที่มีอำนาจในการลงโทษผู้ใต้บังคับบัญชาตามระเบียบข้อบังคับการทำงานของโจทก์ ผู้กล่าวหาทั้งสี่จะเป็นสมาชิกสหภาพแรงงานส่งเสริมสิ่งทอไทยไม่ได้ตามพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์พ.ศ. 2518 มาตรา 95 วรรคสอง การที่ผู้กล่าวหาทั้งสี่เข้าเป็นสมาชิกสหภาพแรงงานส่งเสริมสิ่งทอไทย ย่อมทำให้การเป็นสมาชิกสหภาพแรงงานนั้นไม่มีผลตามกฎหมาย เพราะขัดต่อบทบัญญัติแห่งพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์ พ.ศ. 2518 ดังกล่าว แต่ตามระเบียบข้อบังคับการทำงานของโจทก์ไม่ได้กำหนดให้โจทก์มีอำนาจเพิกถอนตำแหน่งระดับหัวหน้าของลูกจ้าง ในกรณีที่ลูกจ้างนั้นสมัครเข้าเป็นสมาชิกสหภาพแรงงานของลูกจ้างอื่น และไม่มีบทบัญญัติแห่งกฎหมายใดให้อำนาจโจทก์ที่จะกระทำการเช่นว่านั้นได้จึงเห็นว่าโจทก์จะเพิกถอนตำแหน่งระดับหัวหน้าของผู้กล่าวหาทั้งสี่โดยอาศัยเหตุที่ผู้กล่าวหาทั้งสี่สมัครเข้าเป็นสมาชิกสหภาพแรงงานส่งเสริมสิ่งทอไทยไม่ได้
พิพากษายืน
ผู้กล่าวหาเป็นลูกจ้างตำแหน่งระดับหัวหน้าซึ่งเป็นผู้บังคับบัญชาที่มีอำนาจในการลงโทษผู้ใต้บังคับบัญชาตามระเบียบข้อบังคับการทำงานของโจทก์ผู้กล่าวหาจะเป็นสมาชิกสหภาพแรงงานที่ลูกจ้างอื่นได้จัดตั้งขึ้นหรือเป็นสมาชิกอยู่ไม่ได้ ตามพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์ พ.ศ. 2518 มาตรา 95 วรรคสองการที่ผู้กล่าวหาเข้าเป็นสมาชิกสหภาพแรงงานของลูกจ้างอื่น ย่อมทำให้การเป็นสมาชิกสหภาพแรงงานนั้นไม่มีผลตามกฎหมาย เพราะขัดต่อบทบัญญัติแห่ง พระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์ พ.ศ. 2518 ดังกล่าวแต่ตามระเบียบข้อบังคับการทำงานของโจทก์ไม่ได้กำหนดให้โจทก์มีอำนาจเพิกถอนตำแหน่งระดับหัวหน้าของลูกจ้าง ในกรณีที่ลูกจ้างนั้นสมัครเข้าเป็นสมาชิกสหภาพแรงงานของลูกจ้างอื่น และไม่มีบทบัญญัติแห่งกฎหมายใดให้อำนาจโจทก์ที่จะกระทำการเช่นว่านั้นได้โจทก์จึงเพิกถอนตำแหน่งระดับหัวหน้าของผู้กล่าวหาไม่ได้
โจทก์ฟ้องว่า โจทก์เป็นนิติบุคคลประเภทบริษัทจำกัด จำเลยทั้งสิบสองคนเป็นคณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์ ได้มีคำสั่งที่ 11/2536ลงวันที่ 7 พฤษภาคม 2536 ความว่า คำสั่งของโจทก์ที่ให้เพิกถอนตำแหน่งหัวหน้างานของลูกจ้างโจทก์เป็นการกระทำอันไม่เป็นธรรมจึงให้เพิกถอนและแต่งตั้งให้นางสาวนันทา เชยหอม นางวัฒนา ละมูลนางแจง กันรักษา และนายทวาย อินทร์ผักแว่น ลูกจ้างของโจทก์ดำรงตำแหน่งหัวหน้าแผนก และปฏิบัติงานในตำแหน่งหน้าที่ไม่ต่ำกว่าตำแหน่งเดิม โจทก์เห็นว่าคำสั่งดังกล่าวไม่ชอบด้วยกฎหมาย เพราะนางสาวนันทา นางวัฒนา นางแจง และนายทวาย มีตำแหน่งเป็นหัวหน้างานมีอำนาจในการให้คุณให้โทษแก่ผู้ใต้บังคับบัญชาโดยตรง ได้สมัครเข้าเป็นสมาชิกสหภาพแรงงานส่งเสริมสิ่งทอไทย ซึ่งเป็นการขัดต่อพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์ พ.ศ. 2518 มาตรา 95 และบุคคลทั้งสี่ได้เข้าร่วมในภารกิจหรือกิจกรรมต่าง ๆ ของสหภาพแรงงานส่งเสริมสิ่งทอไทยตลอดมา ทำให้โจทก์เสียหาย การที่โจทก์มีคำสั่งเพิกถอนตำแหน่งหัวหน้างานของบุคคลทั้งสี่ดังกล่าวจึงไม่ถือว่าเป็นการฝ่าฝืนพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์ พ.ศ. 2518 มาตรา 121 ขอให้พิพากษาเพิกถอนคำสั่งของจำเลยที่ 11/2536 ลงวันที่ 7 พฤษภาคม 2536
ระหว่างพิจารณา โจทก์ขอถอนฟ้องเฉพาะจำเลยที่ 1 ศาลแรงงานกลางอนุญาต และอนุญาตตามคำขอของโจทก์ให้เรียกนายประมูล จันทรจำนงเข้ามาเป็นจำเลยร่วม
จำเลยและจำเลยร่วมให้การว่า การกระทำของโจทก์ที่มีคำสั่งโยกย้ายนางสาวนันทา เชยหอม นางวัฒนา ละมูล นางแจง กันรักษาและนายทวาย อินทร์ผักแว่น ผู้กล่าวหาซึ่งเป็นลูกจ้างของโจทก์เป็นการกระทำอันไม่เป็นธรรม คำสั่งของจำเลยและจำเลยร่วมที่ 11/2536ลงวันที่ 7 พฤษภาคม 2536 นั้นชอบแล้ว การเป็นสมาชิกสหภาพแรงงานของผู้กล่าวหาทั้งสี่ไม่ขัดต่อกฎหมายเพราะผู้กล่าวหาทั้งสี่มิใช่ผู้บังคับบัญชาที่มีอำนาจในการจ้าง การลดค่าจ้าง การเลิกจ้างการให้บำเหน็จ หรือการลงโทษ ผู้กล่าวหาที่หนึ่งถึงที่สามไม่มีผู้ใต้บังคับบัญชา ส่วนผู้กล่าวหาที่สี่มีอำนาจเพียงว่ากล่าวตักเตือนผู้ใต้บังคับบัญชาเท่านั้น ไม่มีอำนาจในการลงโทษสถานอื่นข้อบังคับของโจทก์ไม่ได้ห้ามบุคคลที่มีตำแหน่งหัวหน้างานเป็นสมาชิกสหภาพแรงงาน และไม่มีข้อบังคับว่าถ้าลูกจ้างซึ่งเป็นผู้บังคับบัญชาเป็นสมาชิกสหภาพแรงงานแล้ว ให้โจทก์มีอำนาจปลดจากการเป็นผู้บังคับบัญชาได้ การกระทำของโจทก์ที่เพิกถอนตำแหน่งหัวหน้างานของผู้กล่าวหาทั้งสี่ให้ไปดำรงตำแหน่งพนักงานทั่วไปและไม่ให้พักอาศัยอยู่ในหอพัก ย่อมทำให้ผู้กล่าวหาทั้งสี่ได้รับความเสียหาย ไม่สามารถอยู่ในหอพักได้ตามสิทธิ และการปรับค่าจ้างนั้น ผู้กล่าวหาทั้งสี่ได้รับการปรับค่าจ้างต่ำกว่าอัตราที่หัวหน้างานทั่วไปจะได้รับ การที่โจทก์มีคำสั่งเพิกถอนตำแหน่งหัวหน้างานของผู้กล่าวหาทั้งสี่โจทก์ไม่มีอำนาจกระทำได้ จึงเป็นการกระทำที่ไม่เป็นธรรมทำให้ลูกจ้างไม่สามารถทนทำงานอยู่ต่อไปได้เป็นการต้องห้ามตามมาตรา 121 แห่งพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์พ.ศ. 2518 ขอให้ยกฟ้อง
ศาลแรงงานกลางพิจารณาแล้ววินิจฉัยว่า นางสาวนันทา นางวัฒนานางแจง และนายทวาย ผู้กล่าวหาเป็นลูกจ้างของโจทก์ในตำแหน่งระดับหัวหน้าซึ่งเป็นผู้บังคับบัญชาที่มีอำนาจลงโทษผู้ใต้บังคับบัญชาโดยการตักเตือนด้วยวาจาหรือเป็นหนังสือได้ตามระเบียบข้อบังคับการทำงานของโจทก์ และผู้กล่าวหาทั้งสี่ดังกล่าวเป็นสมาชิกสหภาพแรงงานส่งเสริมสิ่งทอไทย โจทก์มีคำสั่งเพิกถอนผู้กล่าวหาทั้งสี่จากตำแหน่งระดับหัวหน้า เนื่องจากผู้กล่าวหาทั้งสี่ได้ร่วมลงลายมือชื่อในการยื่นข้อเรียกร้องที่สหภาพแรงงานส่งเสริมสิ่งทอไทยยื่นข้อเรียกร้องต่อโจทก์ และร่วมใช้สิทธินัดหยุดงาน มีลักษณะเป็นการกลั่นแกล้งเพิกถอนตำแหน่งระดับหัวหน้าของผู้กล่าวหาทั้งสี่ เป็นการเปลี่ยนแปลงสภาพการจ้างซึ่งโจทก์จะกระทำมิได้ การที่จำเลยและจำเลยร่วมมีคำสั่งให้เพิกถอนคำสั่งของโจทก์ และให้ผู้กล่าวหาทั้งสี่ดำรงตำแหน่งระดับหัวหน้า และปฏิบัติงานในตำแหน่งหน้าที่ไม่ต่ำกว่าตำแหน่งเดิมนั้นชอบแล้ว ไม่มีเหตุที่จะเพิกถอนคำสั่งของจำเลยและจำเลยร่วม พิพากษายกฟ้อง
โจทก์อุทธรณ์ต่อศาลฎีกา
ศาลฎีกาแผนกคดีแรงงานวินิจฉัยว่า โจทก์อุทธรณ์ว่า การที่ผู้กล่าวหาทั้งสี่ซึ่งเป็นลูกจ้างของโจทก์ตำแหน่งระดับหัวหน้ามีอำนาจลงโทษผู้ใต้บังคับบัญชาตามระเบียบข้อบังคับการทำงานของโจทก์ได้สมัครเข้าเป็นสมาชิกสหภาพแรงงานส่งเสริมสิ่งทอไทย เป็นการขัดต่อพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์ พ.ศ. 2518 มาตรา 95 ถือได้ว่าผู้กล่าวหาทั้งสี่กระทำการเป็นปฏิปักษ์ต่อโจทก์ โจทก์จึงมีสิทธิที่จะเพิกถอนตำแหน่งระดับหัวหน้าของผู้กล่าวหาทั้งสี่ได้ เห็นว่าผู้กล่าวหาทั้งสี่เป็นลูกจ้างตำแหน่งระดับหัวหน้าซึ่งเป็นผู้บังคับบัญชาที่มีอำนาจในการลงโทษผู้ใต้บังคับบัญชาตามระเบียบข้อบังคับการทำงานของโจทก์ ผู้กล่าวหาทั้งสี่จะเป็นสมาชิกสหภาพแรงงานส่งเสริมสิ่งทอไทยไม่ได้ตามพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์พ.ศ. 2518 มาตรา 95 วรรคสอง การที่ผู้กล่าวหาทั้งสี่เข้าเป็นสมาชิกสหภาพแรงงานส่งเสริมสิ่งทอไทย ย่อมทำให้การเป็นสมาชิกสหภาพแรงงานนั้นไม่มีผลตามกฎหมาย เพราะขัดต่อบทบัญญัติแห่งพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์ พ.ศ. 2518 ดังกล่าว แต่ตามระเบียบข้อบังคับการทำงานของโจทก์ไม่ได้กำหนดให้โจทก์มีอำนาจเพิกถอนตำแหน่งระดับหัวหน้าของลูกจ้าง ในกรณีที่ลูกจ้างนั้นสมัครเข้าเป็นสมาชิกสหภาพแรงงานของลูกจ้างอื่น และไม่มีบทบัญญัติแห่งกฎหมายใดให้อำนาจโจทก์ที่จะกระทำการเช่นว่านั้นได้จึงเห็นว่าโจทก์จะเพิกถอนตำแหน่งระดับหัวหน้าของผู้กล่าวหาทั้งสี่โดยอาศัยเหตุที่ผู้กล่าวหาทั้งสี่สมัครเข้าเป็นสมาชิกสหภาพแรงงานส่งเสริมสิ่งทอไทยไม่ได้
พิพากษายืน
ผู้กล่าวหาทั้งสี่เป็นลูกจ้างตำแหน่งระดับหัวหน้ามีอำนาจในการลงโทษผู้ใต้บังคับบัญชาตามระเบียบข้อบังคับการทำงานของโจทก์ผู้กล่าวหาทั้งสี่จึงเป็นสมาชิกสหภาพแรงงานไม่ได้เพราะขัดต่อพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์ พ.ศ. 2518 มาตรา 95 วรรคสอง แต่เมื่อระเบียบข้อบังคับการทำงานของโจทก์ไม่ได้กำหนดให้โจทก์มีอำนาจเพิกถอนตำแหน่งระดับหัวหน้าของลูกจ้างในกรณีเช่นนี้ และไม่มีบทบัญญัติแห่งกฎหมายใดให้อำนาจโจทก์จึงเพิกถอนตำแหน่งของผู้กล่าวหาทั้งสี่โดยอาศัยเหตุที่ผู้กล่าวหาทั้งสี่สมัครเป็นสมาชิกสหภาพแรงงานไม่ได้
โจทก์ฟ้องว่า จำเลยทั้งสิบสองคนเป็นคณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์ได้มีคำสั่งที่ 11/2536 ให้เพิกถอนคำสั่งของโจทก์ที่ให้เพิกถอนตำแหน่งหัวหน้างานของลูกจ้างโจทก์ และแต่งตั้งให้นางสาวนันทาเชยหอม นางวัฒนา ละมูล นางแจง กันรักษา และนายทวาย อินทร์ผักแว่นลูกจ้างของโจทก์ ดำรงตำแหน่งหัวหน้าแผนกและปฏิบัติงานในตำแหน่งหน้าที่ไม่ต่ำกว่าตำแหน่งเดิม คำสั่งดังกล่าวไม่ชอบด้วยกฎหมายเพราะนางสาวนันทา นางวัฒนา นางแจง และนายทวาย มีตำแหน่งเป็นหัวหน้างานมีอำนาจในการให้คุณให้โทษแก่ผู้ใต้บังคับบัญชาโดยตรงได้สมัครเข้าเป็นสมาชิกสหภาพแรงงานส่งเสริมสิ่งทอไทย ซึ่งเป็นการขัดต่อพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์ พ.ศ. 2518 มาตรา 95 ขอให้เพิกถอนคำสั่งของจำเลยที่ 11/2536 เสีย
ในระหว่างพิจารณา โจทก์ขอถอนฟ้องเฉพาะจำเลยที่ 1 ศาลแรงงานกลางอนุญาต และอนุญาตตามคำขอของโจทก์ให้เรียกนายประมูล จันทรจำนงเข้ามาเป็นจำเลยร่วมในคดีนี้
จำเลยและจำเลยร่วมให้การว่า คำสั่งของจำเลยและจำเลยร่วมที่ 11/2536 ชอบแล้ว การเป็นสมาชิกสหภาพแรงงานของผู้กล่าวหาทั้งสี่ไม่ขัดต่อกฎหมาย เพราะผู้กล่าวหาทั้งสี่มิใช่ผู้บังคับบัญชาที่มีอำนาจในการจ้าง การลดค่าจ้าง การเลิกจ้าง การให้บำเหน็จ หรือการลงโทษ ข้อบังคับของโจทก์ไม่ได้ห้ามบุคคลที่มีตำแหน่งหัวหน้างานเป็นสมาชิกสหภาพแรงงาน และไม่มีข้อบังคับว่าถ้าลูกจ้างซึ่งเป็นผู้บังคับบัญชาเป็นสมาชิกสหภาพแรงงานแล้ว ให้โจทก์มีอำนาจปลดจากการเป็นผู้บังคับบัญชาได้ การที่โจทก์มีคำสั่งเพิกถอนตำแหน่งหัวหน้างานของผู้กล่าวหาทั้งสี่จึงเป็นการกระทำที่ไม่เป็นธรรมเป็นการต้องห้ามตามมาตรา 121 แห่งพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์พ.ศ. 2518 ขอให้ยกฟ้อง
ศาลแรงงานกลางพิจารณาแล้ว พิพากษายกฟ้อง
โจทก์อุทธรณ์ต่อศาลฎีกา
ศาลฎีกาแผนกคดีแรงงานวินิจฉัยว่า "โจทก์อุทธรณ์ว่าการที่ผู้กล่าวหาทั้งสี่ซึ่งเป็นลูกจ้างของโจทก์ตำแหน่งระดับหัวหน้ามีอำนาจลงโทษผู้ใต้บังคับบัญชา ตามระเบียบข้อบังคับการทำงานของโจทก์ เอกสารหมาย จ.17 ข้อ 5.2 ได้ สมัครเข้าเป็นสมาชิกสหภาพแรงงานส่งเสริมสิ่งทอไทย ซึ่งเป็นการขัดต่อพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์ พ.ศ. 2518 มาตรา 95 ถือได้ว่าผู้กล่าวหาทั้งสี่กระทำการเป็นปฏิปักษ์ต่อโจทก์ โจทก์จึงมีสิทธิที่จะเพิกถอนตำแหน่งระดับหัวหน้าของผู้กล่าวหาทั้งสี่ได้ พิเคราะห์แล้วเห็นว่า ผู้กล่าวหาทั้งสี่เป็นลูกจ้างตำแหน่งระดับหัวหน้าซึ่งเป็นผู้บังคับบัญชาที่มีอำนาจในการลงโทษผู้ใต้บังคับบัญชาตามระเบียบข้อบังคับทำงานของโจทก์ เอกสารหมาย จ.17 ข้อ 5.2 ผู้กล่าวหาทั้งสี่จะเป็นสมาชิกสหภาพแรงงานส่งเสริมสิ่งทอไทยไม่ได้ตามพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์ พ.ศ. 2518 มาตรา 95 วรรคสอง การที่ผู้กล่าวหาทั้งสี่เข้าเป็นสมาชิกสหภาพแรงงานส่งเสริมสิ่งทอไทย ย่อมทำให้การเป็นสมาชิกสหภาพแรงงานนั้นไม่มีผลตามกฎหมาย เพราะขัดต่อบทบัญญัติแห่งพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์ พ.ศ. 2518 ดังกล่าว แต่ตามระเบียบข้อบังคับการทำงานของโจทก์ไม่ได้กำหนดให้โจทก์มีอำนาจเพิกถอนตำแหน่งระดับหัวหน้าของลูกจ้าง ในกรณีที่ลูกจ้างนั้นสมัครเข้าเป็นสมาชิกสหภาพแรงงานของลูกจ้างอื่น และไม่มีบทบัญญัติแห่งกฎหมายใดให้อำนาจโจทก์ที่จะกระทำการเช่นว่านั้นได้ จึงเห็นว่าโจทก์จะเพิกถอนตำแหน่งระดับหัวหน้าของผู้กล่าวหาทั้งสี่โดยอาศัยเหตุที่ผู้กล่าวหาทั้งสี่สมัครเข้าเป็นสมาชิกสหภาพแรงงานส่งเสริมสิ่งทอไทยไม่ได้ อุทธรณ์ของโจทก์ฟังไม่ขึ้น"
พิพากษายืน
ผู้กล่าวหาทั้งสี่เป็นลูกจ้างตำแหน่งระดับหัวหน้ามีอำนาจในการลงโทษผู้ใต้บังคับบัญชาตามระเบียบข้อบังคับการทำงานของโจทก์ผู้กล่าวหาทั้งสี่จึงเป็นสมาชิกสหภาพแรงงานไม่ได้เพราะขัดต่อพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์ พ.ศ. 2518 มาตรา 95 วรรคสอง แต่เมื่อระเบียบข้อบังคับการทำงานของโจทก์ไม่ได้กำหนดให้โจทก์มีอำนาจเพิกถอนตำแหน่งระดับหัวหน้าของลูกจ้างในกรณีเช่นนี้ และไม่มีบทบัญญัติแห่งกฎหมายใดให้อำนาจโจทก์จึงเพิกถอนตำแหน่งของผู้กล่าวหาทั้งสี่โดยอาศัยเหตุที่ผู้กล่าวหาทั้งสี่สมัครเป็นสมาชิกสหภาพแรงงานไม่ได้
โจทก์ฟ้องว่า จำเลยทั้งสิบสองคนเป็นคณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์ได้มีคำสั่งที่ 11/2536 ให้เพิกถอนคำสั่งของโจทก์ที่ให้เพิกถอนตำแหน่งหัวหน้างานของลูกจ้างโจทก์ และแต่งตั้งให้นางสาวนันทาเชยหอม นางวัฒนา ละมูล นางแจง กันรักษา และนายทวาย อินทร์ผักแว่นลูกจ้างของโจทก์ ดำรงตำแหน่งหัวหน้าแผนกและปฏิบัติงานในตำแหน่งหน้าที่ไม่ต่ำกว่าตำแหน่งเดิม คำสั่งดังกล่าวไม่ชอบด้วยกฎหมายเพราะนางสาวนันทา นางวัฒนา นางแจง และนายทวาย มีตำแหน่งเป็นหัวหน้างานมีอำนาจในการให้คุณให้โทษแก่ผู้ใต้บังคับบัญชาโดยตรงได้สมัครเข้าเป็นสมาชิกสหภาพแรงงานส่งเสริมสิ่งทอไทย ซึ่งเป็นการขัดต่อพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์ พ.ศ. 2518 มาตรา 95 ขอให้เพิกถอนคำสั่งของจำเลยที่ 11/2536 เสีย
ในระหว่างพิจารณา โจทก์ขอถอนฟ้องเฉพาะจำเลยที่ 1 ศาลแรงงานกลางอนุญาต และอนุญาตตามคำขอของโจทก์ให้เรียกนายประมูล จันทรจำนงเข้ามาเป็นจำเลยร่วมในคดีนี้
จำเลยและจำเลยร่วมให้การว่า คำสั่งของจำเลยและจำเลยร่วมที่ 11/2536 ชอบแล้ว การเป็นสมาชิกสหภาพแรงงานของผู้กล่าวหาทั้งสี่ไม่ขัดต่อกฎหมาย เพราะผู้กล่าวหาทั้งสี่มิใช่ผู้บังคับบัญชาที่มีอำนาจในการจ้าง การลดค่าจ้าง การเลิกจ้าง การให้บำเหน็จ หรือการลงโทษ ข้อบังคับของโจทก์ไม่ได้ห้ามบุคคลที่มีตำแหน่งหัวหน้างานเป็นสมาชิกสหภาพแรงงาน และไม่มีข้อบังคับว่าถ้าลูกจ้างซึ่งเป็นผู้บังคับบัญชาเป็นสมาชิกสหภาพแรงงานแล้ว ให้โจทก์มีอำนาจปลดจากการเป็นผู้บังคับบัญชาได้ การที่โจทก์มีคำสั่งเพิกถอนตำแหน่งหัวหน้างานของผู้กล่าวหาทั้งสี่จึงเป็นการกระทำที่ไม่เป็นธรรมเป็นการต้องห้ามตามมาตรา 121 แห่งพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์พ.ศ. 2518 ขอให้ยกฟ้อง
ศาลแรงงานกลางพิจารณาแล้ว พิพากษายกฟ้อง
โจทก์อุทธรณ์ต่อศาลฎีกา
ศาลฎีกาแผนกคดีแรงงานวินิจฉัยว่า "โจทก์อุทธรณ์ว่าการที่ผู้กล่าวหาทั้งสี่ซึ่งเป็นลูกจ้างของโจทก์ตำแหน่งระดับหัวหน้ามีอำนาจลงโทษผู้ใต้บังคับบัญชา ตามระเบียบข้อบังคับการทำงานของโจทก์ เอกสารหมาย จ.17 ข้อ 5.2 ได้ สมัครเข้าเป็นสมาชิกสหภาพแรงงานส่งเสริมสิ่งทอไทย ซึ่งเป็นการขัดต่อพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์ พ.ศ. 2518 มาตรา 95 ถือได้ว่าผู้กล่าวหาทั้งสี่กระทำการเป็นปฏิปักษ์ต่อโจทก์ โจทก์จึงมีสิทธิที่จะเพิกถอนตำแหน่งระดับหัวหน้าของผู้กล่าวหาทั้งสี่ได้ พิเคราะห์แล้วเห็นว่า ผู้กล่าวหาทั้งสี่เป็นลูกจ้างตำแหน่งระดับหัวหน้าซึ่งเป็นผู้บังคับบัญชาที่มีอำนาจในการลงโทษผู้ใต้บังคับบัญชาตามระเบียบข้อบังคับทำงานของโจทก์ เอกสารหมาย จ.17 ข้อ 5.2 ผู้กล่าวหาทั้งสี่จะเป็นสมาชิกสหภาพแรงงานส่งเสริมสิ่งทอไทยไม่ได้ตามพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์ พ.ศ. 2518 มาตรา 95 วรรคสอง การที่ผู้กล่าวหาทั้งสี่เข้าเป็นสมาชิกสหภาพแรงงานส่งเสริมสิ่งทอไทย ย่อมทำให้การเป็นสมาชิกสหภาพแรงงานนั้นไม่มีผลตามกฎหมาย เพราะขัดต่อบทบัญญัติแห่งพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์ พ.ศ. 2518 ดังกล่าว แต่ตามระเบียบข้อบังคับการทำงานของโจทก์ไม่ได้กำหนดให้โจทก์มีอำนาจเพิกถอนตำแหน่งระดับหัวหน้าของลูกจ้าง ในกรณีที่ลูกจ้างนั้นสมัครเข้าเป็นสมาชิกสหภาพแรงงานของลูกจ้างอื่น และไม่มีบทบัญญัติแห่งกฎหมายใดให้อำนาจโจทก์ที่จะกระทำการเช่นว่านั้นได้ จึงเห็นว่าโจทก์จะเพิกถอนตำแหน่งระดับหัวหน้าของผู้กล่าวหาทั้งสี่โดยอาศัยเหตุที่ผู้กล่าวหาทั้งสี่สมัครเข้าเป็นสมาชิกสหภาพแรงงานส่งเสริมสิ่งทอไทยไม่ได้ อุทธรณ์ของโจทก์ฟังไม่ขึ้น"
พิพากษายืน
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2235/2537 วินิจฉัยเรื่อง ลูกจ้างตำแหน่งผู้บังคับบัญชาเป็นสมาชิกสหภาพแรงงานไม่ได้ กับเรื่องการเพิกถอนตำแหน่งงานของลูกจ้าง ซึ่งมีข้อพิจารณาดังนี้1. ลูกจ้างตำแหน่งผู้บังคับบัญชาเป็นสมาชิกสหภาพแรงงานไม่ได้ 1.1 หลักกฎหมาย พระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์ พ.ศ. 2518 มาตรา 95 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2534บัญญัติว่า "มาตรา 95 ผู้ซึ่งจะเป็นสมาชิกของสหภาพแรงงานได้จะต้องเป็นลูกจ้างของนายจ้างคนเดียวกันกับผู้ขอจดทะเบียนสหภาพแรงงาน หรือเป็นลูกจ้างซึ่งทำงานในกิจการประเภทเดียวกันกับผู้ขอจดทะเบียนสหภาพแรงงาน และมีอายุตั้งแต่สิบห้าปีขึ้นไป ห้ามมิให้พนักงานและฝ่ายบริหารตามกฎหมายว่าด้วยพนักงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ์เป็นสมาชิกของสหภาพแรงงานตามวรรคหนึ่ง ลูกจ้างซึ่งเป็นผู้บังคับบัญชาที่มีอำนาจในการจ้าง การลดค่าจ้าง การเลิกจ้าง การให้บำเหน็จหรือการลดโทษ จะเป็นสมาชิกในสหภาพแรงงานที่ลูกจ้างซึ่งเป็นผู้บังคับบัญชาดังกล่าวได้จัดตั้งขึ้นหรือเป็นสมาชิกอยู่ไม่ได้" 1.2 หลักเกณฑ์คำวินิจฉัยของศาลฎีกา คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2235/2537 วินิจฉัยตามหลักเกณฑ์ของพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์ พ.ศ. 2518 มาตรา 95 ดังนี้ (1) ลูกจ้างตำแหน่งผู้บังคับบัญชาเป็นสมาชิกสหภาพแรงงานไม่ได้ ข้อสังเกต ลูกจ้างตำแหน่งผู้บังคับบัญชานั้นให้ดูว่าลูกจ้างผู้นั้นมีอำนาจอย่างใดอย่างหนึ่งใน 5 อย่าง คือ การจ้าง การลดค่าจ้าง การเลิกจ้าง การให้บำเหน็จ การลงโทษ คดีนี้ ผู้กล่าวหาทั้งสี่มีอำนาจลงโทษผู้ใต้บังคับบัญชาจึงเป็นลูกจ้างที่มีอำนาจบังคับบัญชา2. การเพิกถอนตำแหน่งลูกจ้าง การเพิกถอนตำแหน่งของลูกจ้างนั้นไม่มีกฎหมายใดบัญญัติให้อำนาจไว้ จึงต้องเป็นไปตามระเบียบข้อบังคับของนายจ้าง คดีนี้ศาลฎีกาวินิจฉัยว่า เมื่อไม่มีกฎหมายใดให้อำนาจ และในระเบียบข้อบังคับของนายจ้างก็มิได้กำหนดไว้ นายจ้างจึงเพิกถอนตำแหน่งของลูกจ้างไม่ได้ ข้อสังเกต 1. การเพิกถอนตำแหน่ง คือ การเพิกถอนตำแหน่งที่ดำรงอยู่ให้กลับไปอยู่ตำแหน่งเดิม หากเพิกถอนตำแหน่งที่สูงกว่าให้กลับไปอยู่ในตำแหน่งที่ต่ำกว่าเป็นการลดตำแหน่งถือเป็นการลงโทษอย่างหนึ่ง นายจ้างจะทำได้เมื่อลูกจ้างกระทำผิดวินัยและมีระเบียบข้อบังคับให้ลงโทษลดตำแหน่งได้หากเพิกถอนตำแหน่งที่ดำรงอยู่ให้กลับไปอยู่ในตำแหน่งเดิมที่เท่ากัน เป็นการ ย้าย ไม่ถือเป็นการลงโทษ นายจ้างมีสิทธิทำได้แต่ต้องทำเป็นคำสั่งย้ายจากตำแหน่งหนึ่งไปยังอีกตำแหน่งหนึ่ง 2. การเพิกถอนตำแหน่งกับการย้ายตำแหน่ง เพิกถอนตำแหน่ง คือ เพิกถอนตำแหน่งที่ดำรงอยู่ ทำให้กลับคืนไปสู่ตำแหน่งเดิม ย้ายตำแหน่ง คือ ย้ายจากตำแหน่งที่ดำรงอยู่ไปดำรงอีกตำแหน่งหนึ่ง 3. คดีนี้ข้อเท็จจริงปรากฏว่าผู้ถูกกล่าวหาทั้งสี่ดำรงตำแหน่งผู้บังคับบัญชาเมื่อถูกเพิกถอนตำแหน่งผู้บังคับบัญชา ไปเป็นลูกจ้างธรรมดาเท่ากับเป็นการ ลดตำแหน่ง ถือว่าเป็นการลงโทษ การที่ผู้กล่าวหาทั้งสี่สมัครเป็นสมาชิกสหภาพแรงงานนั้น มิใช่การกระทำผิดระเบียบข้อบังคับของนายจ้าง เมื่อกระทำดังกล่าวไม่เป็นความผิดนายจ้างจึงลงโทษโดยการเพิกถอนตำแหน่ง (เท่ากับลดตำแหน่ง) ไม่ได้ รุ่งโรจน์ รื่นเริงวงศ์
ผู้กล่าวหาเป็นลูกจ้างตำแหน่งระดับหัวหน้าซึ่งเป็นผู้บังคับบัญชาที่มีอำนาจในการลงโทษผู้ใต้บังคับบัญชาตามระเบียบข้อบังคับการทำงานของโจทก์ผู้กล่าวหาจะเป็นสมาชิกสหภาพแรงงานที่ลูกจ้างอื่นได้จัดตั้งขึ้นหรือเป็นสมาชิกอยู่ไม่ได้ ตาม พ.ร.บ.แรงงานสัมพันธ์ พ.ศ.2518 มาตรา 95 วรรคสอง การที่ผู้กล่าวหาเข้าเป็นสมาชิกสหภาพแรงงานของลูกจ้างอื่น ย่อมทำให้การเป็นสมาชิกสหภาพแรงงานนั้นไม่มีผลตามกฎหมาย เพราะขัดต่อบทบัญญัติแห่ง พ.ร.บ.แรงงาน-สัมพันธ์ พ.ศ.2518 ดังกล่าว แต่ตามระเบียบข้อบังคับการทำงานของโจทก์ไม่ได้กำหนดให้โจทก์มีอำนาจเพิกถอนตำแหน่งระดับหัวหน้าของลูกจ้าง ในกรณีที่ลูกจ้างนั้นสมัครเข้าเป็นสมาชิกสหภาพแรงงานของลูกจ้างอื่น และไม่มีบทบัญญัติแห่งกฎหมายใดให้อำนาจโจทก์ที่จะกระทำการเช่นว่านั้นได้ โจทก์จึงเพิกถอนตำแหน่งระดับหัวหน้าของผู้กล่าวหาไม่ได้
ผู้กล่าวหาเป็นลูกจ้างตำแหน่งระดับหัวหน้าซึ่งเป็นผู้บังคับบัญชาที่มีอำนาจในการลงโทษผู้ใต้บังคับบัญชาตามระเบียบข้อบังคับการทำงานของโจทก์ผู้กล่าวหาจะเป็นสมาชิกสหภาพแรงงานที่ลูกจ้างอื่นได้จัดตั้งขึ้นหรือเป็นสมาชิกอยู่ไม่ได้ ตาม พ.ร.บ.แรงงานสัมพันธ์ พ.ศ.2518 มาตรา 95 วรรคสอง การที่ผู้กล่าวหาเข้าเป็นสมาชิกสหภาพแรงงานของลูกจ้างอื่น ย่อมทำให้การเป็นสมาชิกสหภาพแรงงานนั้นไม่มีผลตามกฎหมาย เพราะขัดต่อบทบัญญัติแห่ง พ.ร.บ.แรงงาน-สัมพันธ์ พ.ศ.2518 ดังกล่าว แต่ตามระเบียบข้อบังคับการทำงานของโจทก์ไม่ได้กำหนดให้โจทก์มีอำนาจเพิกถอนตำแหน่งระดับหัวหน้าของลูกจ้าง ในกรณีที่ลูกจ้างนั้นสมัครเข้าเป็นสมาชิกสหภาพแรงงานของลูกจ้างอื่น และไม่มีบทบัญญัติแห่งกฎหมายใดให้อำนาจโจทก์ที่จะกระทำการเช่นว่านั้นได้ โจทก์จึงเพิกถอนตำแหน่งระดับหัวหน้าของผู้กล่าวหาไม่ได้
ผู้ตายแนะนำผู้คัดค้านที่ 1 ต่อบุคคลอื่นว่าผู้ตายเป็นบิดาให้ความอุปการะเลี้ยงดูส่งเสียเล่าเรียน ทั้งระบุในใบสมัครสมาชิกฌาปนกิจสงเคราะห์ว่าผู้คัดค้านที่ 1 เป็นบุตรให้เป็นผู้รับประโยชน์ด้วย ผู้คัดค้านที่ 1 จึงเป็นบุตรนอกกฎหมายที่บิดาได้รับรองแล้ว ย่อมถือว่าเป็นผู้สืบสันดานเหมือนกับบุตรที่ชอบด้วยกฎหมายและมีสิทธิรับมรดกของผู้ตายซึ่งเป็นบิดาได้โดยไม่ต้องจดทะเบียนรับรองและไม่จำต้องขอให้ศาลสั่งแสดงว่าเป็นบุตรชอบด้วยกฎหมายเสียก่อน ผู้คัดค้านที่ 1 เป็นผู้สืบสันดาน โดยเป็นทายาทลำดับ 1 ส่วนผู้ร้องเป็นทายาทลำดับ 3 จึงไม่มีสิทธิในทรัพย์มรดกของผู้ตายแม้ผู้ร้องจะมีสิทธิรับมรดกตามสัญญาประนีประนอมยอมความที่ทำกับผู้คัดค้านทั้งสองก็ตาม แต่สัญญาดังกล่าวเป็นข้อตกลงระหว่างผู้ร้องกับผู้คัดค้านทั้งสองด้วยกันเอง และทำขึ้นหลังจากผู้ตายถึงแก่ความตายไปแล้ว ไม่เกี่ยวข้องกับการมีสิทธิรับมรดกแต่อย่างใดไม่ก่อให้ผู้ร้องเป็นผู้มีส่วนได้เสียตามกฎหมาย ผู้ร้องจึงไม่มีสิทธิร้องขอตั้งผู้จัดการมรดกของผู้ตายได้
ผู้ร้องยื่นคำร้องขอและแก้ไขคำร้องขอว่า ผู้ร้องมีพี่น้องร่วมบิดามารดาเดียวกันสามคน คือ ผู้ร้อง ผู้คัดค้านที่ 2 และนายภักดี มังกร ผู้ตาย บิดามารดาของผู้ร้องชื่อนายเฉ่ง มังกรและนางเป้า มังกร ถึงแก่ความตายไปก่อนแล้ว ผู้ตายถึงแก่ความตายเมื่อวันที่ 23 ตุลาคม 2531 มีทรัพย์มรดกทั้งสังหาริมทรัพย์และอสังหาริมทรัพย์รวมสองล้านบาทเศษตามบัญชีทรัพย์ท้ายคำร้องผู้ตายมิได้ทำพินัยกรรมและมิได้ตั้งผู้จัดการมรดก แต่ผู้ร้องกับผู้คัดค้านที่ 1 ได้ตกลงทำสัญญาประนีประนอมยอมความที่จะเป็นผู้จัดการมรดกร่วมกัน ขอให้ตั้งผู้ร้องหรือตั้งผู้ร้องร่วมกับผู้คัดค้านที่ 1 หรือผู้ร้องร่วมกับผู้คัดค้านที่ 2 เป็นผู้จัดการมรดกของผู้ตาย
ผู้คัดค้านที่ 1 ยื่นคำคัดค้านและแก้ไขคำคัดค้านว่า ผู้คัดค้านที่ 1 เป็นบุตรชอบด้วยกฎหมายของผู้ตายตามคำสั่งศาล ผู้ร้องเป็นทายาทอันดับ 3 จึงไม่มีสิทธิและไม่มีส่วนได้เสียในกองมรดก ขอให้ยกคำร้องแล้วตั้งผู้คัดค้านที่ 1 เป็นผู้จัดการมรดกของผู้ตาย
ผู้คัดค้านที่ 2 ยื่นคำคัดค้านและแก้ไขคำคัดค้านว่า ผู้ร้องและผู้คัดค้านทั้งสองได้ทำสัญญาประนีประนอมยอมความแบ่งปันมรดกกันผู้คัดค้านที่ 2 จึงเป็นผู้มีส่วนได้เสีย ขอให้ตั้งผู้ร้องและผู้คัดค้านที่ 2 ร่วมกันเป็นผู้จัดการมรดกของผู้ตาย
ศาลชั้นต้นมีคำสั่งตั้งผู้ร้องเป็นผู้จัดการมรดกของนายภักดีมังกร กับให้มีสิทธิและหน้าที่ตามกฎหมาย และให้ยกคำร้องผู้คัดค้านที่ 1 และคำร้องผู้คัดค้านที่ 2
ผู้คัดค้านที่ 1 อุทธรณ์
ศาลอุทธรณ์พิพากษากลับ ให้ตั้งนางสาวลักขณา มังกรหรือพวงสุวรรณ ผู้คัดค้านที่ 1 เป็นผู้จัดการมรดกของนายภักดีมังกร ผู้ตาย โดยให้มีสิทธิและหน้าที่ตามกฎหมาย คำขออื่นให้ยก
ผู้ร้องฎีกา
ศาลฎีกาวินิจฉัยว่า "พิเคราะห์แล้ว ข้อเท็จจริงฟังได้เป็นยุติว่า ผู้ร้อง ผู้คัดค้านที่ 2 และผู้ตายเป็นพี่น้องร่วมบิดามารดาเดียวกัน ส่วนบิดามารดาของบุคคลทั้งสามถึงแก่ความตายไปก่อนแล้ว หลังจากผู้ตายถึงแก่ความตายแล้วศาลมีคำสั่งตั้งนายชัยพล ชอบทำดี เป็นผู้จัดการมรดกของผู้ตาย แต่การจัดการมรดกยังไม่เสร็จสิ้น นายชัยพลก็ถึงแก่ความตาย ผู้ร้องจึงยื่นคำร้องคดีนี้ขอให้ตั้งผู้ร้องหรือตั้งผู้ร้องร่วมกับผู้คัดค้านที่ 1หรือผู้ร้องร่วมกับผู้คัดค้านที่ 2 เป็นผู้จัดการมรดกของผู้ตายแต่ผู้คัดค้านที่ 1 คัดค้านว่า ผู้ร้องไม่ใช่ทายาท จึงไม่มีสิทธิร้องขอตั้งผู้จัดการมรดก ส่วนผู้คัดค้านที่ 1 เป็นบุตรของผู้ตายขอให้ตั้งผู้คัดค้านที่ 1 เป็นผู้จัดการมรดกของผู้ตาย ประเด็นที่ต้องวินิจฉัยตามฎีกาของผู้ร้องมีว่า ผู้ร้องมีสิทธิร้องขอตั้งผู้จัดการมรดกของผู้ตายหรือไม่ เนื่องจากข้อเท็จจริงได้ความว่าผู้ร้องเป็นพี่น้องร่วมบิดามารดาเดียวกันกับผู้ตาย จึงเป็นทายาทลำดับ 3 ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1629(3) ส่วนผู้คัดค้านที่ 1 อ้างว่าเป็นบุตรของผู้ตาย หากรับฟังได้ว่าเป็นผู้สืบสันดานของผู้ตาย ผู้คัดค้านที่ 1 ก็เป็นทายาทลำดับ 1 ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1629(1) ผู้ร้องย่อมไม่มีสิทธิในทรัพย์มรดกของผู้ตาย จึงสมควรวินิจฉัยก่อนว่า ผู้คัดค้านที่ 1เป็นผู้สืบสันดานของผู้ตายหรือไม่ ในข้อนี้ผู้คัดค้านที่ 1 มีผู้คัดค้านที่ 1 และนางกาหลงมาเบิกความว่า นางกาหลงอยู่กินฉันสามีภริยากับผู้ตายโดยไม่ได้จดทะเบียนสมรส ต่อมานางกาหลงตั้งครรภ์ได้ 3-4 เดือน เกิดปัญหากับผู้ร้องเพราะถูกกีดกันจึงออกไปพักอยู่กับนางทวีและนายหอม พวงสุวรรณ ซึ่งเป็นพี่สาวและพี่เขยของนางกาหลง ต่อมาคลอดผู้คัดค้านที่ 1 ที่บ้านของนายหอม หลังจากคลอดแล้วนางกาหลงยังไปมาระหว่างบ้านของนายหอมและบ้านของผู้ตาย ทั้งผู้ตายก็ได้ไปเยี่ยมเยียนผู้คัดค้านที่ 1 ตอนผู้คัดค้านที่ 1 อายุ 3 ปีเศษ นางกาหลงพาผู้คัดค้านที่ 1 ไปคืนให้แก่ผู้ตายแล้วไปทำงานต่างจังหวัดผู้ตายคงให้ผู้คัดค้านที่ 1 อยู่บ้านนายหอม เมื่อผู้คัดค้านที่ 1โตแล้วไปหาผู้ตายที่สวนผู้ตายแนะนำแก่ญาติและเพื่อนบ้านว่าผู้คัดค้านที่ 1 เป็นบุตรของผู้ตาย และออกค่าเล่าเรียนแก่ผู้คัดค้านที่ 1 และมีร้อยตำรวจเอกสุดใจ มังกร ลูกพี่ลูกน้องกับผู้ตายเบิกความว่า มีบ้านอยู่ใกล้กับผู้ตายไปมาหาสู่บ่อยเคยพบผู้คัดค้านที่ 1 อยู่ในที่พักของผู้ตาย ผู้ตายบอกว่าเป็นบุตรของผู้ตาย นอกจากนี้ผู้คัดค้านที่ 1 ยังมีนายฉาง ศรีสุทกมาเบิกความว่า เคยเห็นผู้คัดค้านที่ 1 อยู่ในสวนของผู้ตายสิบกว่าครั้ง ตอนที่ผู้คัดค้านที่ 1 ไปขอค่าเล่าเรียน บางครั้งผู้ตายมีเงินไม่พอได้ขอยืมเงินจากพยานให้แก่ผู้คัดค้านที่ 1 ครั้งละ 300 บาทบ้าง 500 บาท บ้าง ประมาณ 3 ครั้ง และได้ความจากนายทอง คณารมย์อดีตประธานฌาปนกิจสงเคราะห์ของธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร พยานผู้คัดค้านที่ 1 ว่า ตอนผู้ตายไปสมัครเป็นสมาชิกฌาปนกิจสงเคราะห์ ได้ระบุชื่อนางสาวลักขณา พวงสุวรรณ ว่าเป็นบุตรเป็นผู้รับประโยชน์ แต่เนื่องจากนามสกุลของผู้รับประโยชน์ไม่ตรงกับผู้ตาย จึงได้สอบถามผู้ตายตามระเบียบ ผู้ตายก็ยืนยันว่าผู้รับประโยชน์เป็นบุตร ผู้ร้องเองได้เบิกความตอบคำถามค้านของผู้คัดค้านที่ 1 ว่า หลังจากผู้ตายถึงแก่ความตายแล้ว พยานได้พาผู้คัดค้านที่ 1 ไปเบิกเงินค่าฌาปนกิจสงเคราะห์จากธนาคารแสดงว่าผู้ร้องทราบว่าใบสมัครสมาชิกฌาปนกิจสงเคราะห์ได้ระบุว่าผู้คัดค้านที่ 1 เป็นบุตร นอกจากนี้ในการตกลงทำสัญญาประนีประนอมยอมความระหว่างผู้ร้องกับผู้คัดค้านทั้งสองตามเอกสารหมาย ร.10ผู้ร้องก็ยอมรับว่าผู้คัดค้านที่ 1 เป็นทายาทของผู้ตาย เห็นว่าพฤติการณ์ที่ผู้ตายได้แนะนำผู้คัดค้านที่ 1 ต่อบุคคลอื่นว่าผู้ตายเป็นบิดาของผู้คัดค้านที่ 1 ได้ให้ความอุปการะเลี้ยงดูส่งเสียเล่าเรียน ทั้งระบุในใบสมัครสมาชิกฌาปนกิจสงเคราะห์ว่าผู้คัดค้านที่ 1 เป็นบุตรให้เป็นผู้รับประโยชน์ด้วย เช่นนี้ถือได้ว่าผู้ตายได้รับรองผู้คัดค้านที่ 1 เป็นบุตรแล้ว แม้การเป็นบุตรชอบด้วยกฎหมายตามคำสั่งศาลมีผลนับแต่วันมีคำพิพากษาถึงที่สุดแต่เมื่อข้อเท็จจริงฟังได้ว่า ผู้คัดค้านที่ 1 เป็นบุตรนอกกฎหมายที่บิดาได้รับรองแล้ว ย่อมถือว่าเป็นผู้สืบสันดานเหมือนกับบุตรที่ชอบด้วยกฎหมายและมีสิทธิรับมรดกของผู้ตายซึ่งเป็นบิดาได้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1629(1) โดยไม่ต้องจดทะเบียนรับรองและไม่จำต้องขอให้ศาลสั่งแสดงว่าเป็นบุตรชอบด้วยกฎหมายเสียก่อน เมื่อผู้คัดค้านที่ 1 เป็นผู้สืบสันดานโดยเป็นทายาทลำดับ 1ส่วนผู้ร้องเป็นทายาทลำดับ 3 จึงไม่มีสิทธิในทรัพย์มรดกของผู้ตายและถือไม่ได้ว่าผู้ร้องมีส่วนได้เสียในทรัพย์มรดกของผู้ตายด้วยผู้ร้องจึงไม่มีสิทธิร้องขอตั้งผู้จัดการมรดกของผู้ตาย ส่วนที่ผู้ร้องฎีกาอ้างว่า เป็นผู้มีสิทธิรับทรัพย์มรดกตามสัญญาประนีประนอมยอมความที่ทำกับผู้คัดค้านทั้งสองจึงเป็นผู้มีส่วนได้เสียในทรัพย์มรดกของผู้ตายนั้น เห็นว่าสัญญาดังกล่าวเป็นข้อตกลงระหว่างผู้ร้องกับผู้คัดค้านทั้งสองด้วยกันเองและทำขึ้นหลังจากผู้ตายถึงแก่ความตายไปแล้ว ไม่เกี่ยวข้องกับการมีสิทธิรับมรดกแต่อย่างใดไม่ก่อให้ผู้ร้องเป็นผู้มีส่วนได้เสียตามกฎหมาย ผู้ร้องจึงไม่มีสิทธิร้องขอตั้งผู้จัดการมรดกในคดีนี้ ที่ศาลอุทธรณ์พิพากษาให้ตั้งผู้คัดค้านที่ 1 เป็นผู้จัดการมรดกของผู้ตายชอบแล้ว ศาลฎีกาเห็นพ้องด้วย ฎีกาของผู้ร้องฟังไม่ขึ้น"
พิพากษายืน
ผู้ตายแนะนำผู้คัดค้านที่ 1 ต่อบุคคลอื่นว่าผู้ตายเป็นบิดาให้ความอุปการะเลี้ยงดูส่งเสียเล่าเรียน ทั้งระบุในใบสมัครสมาชิกฌาปนกิจสงเคราะห์ว่าผู้คัดค้านที่ 1 เป็นบุตรให้เป็นผู้รับประโยชน์ด้วย ผู้คัดค้านที่ 1 จึงเป็นบุตรนอกกฎหมายที่บิดาได้รับรองแล้ว ย่อมถือว่าเป็นผู้สืบสันดานเหมือนกับบุตรที่ชอบด้วยกฎหมายและมีสิทธิรับมรดกของผู้ตายซึ่งเป็นบิดาได้โดยไม่ต้องจดทะเบียนรับรองและไม่จำต้องขอให้ศาลสั่งแสดงว่าเป็นบุตรชอบด้วยกฎหมายเสียก่อน ผู้คัดค้านที่ 1 เป็นผู้สืบสันดาน โดยเป็นทายาทลำดับ 1 ส่วนผู้ร้องเป็นทายาทลำดับ 3 จึงไม่มีสิทธิในทรัพย์มรดกของผู้ตายแม้ผู้ร้องจะมีสิทธิรับมรดกตามสัญญาประนีประนอมยอมความที่ทำกับผู้คัดค้านทั้งสองก็ตาม แต่สัญญาดังกล่าวเป็นข้อตกลงระหว่างผู้ร้องกับผู้คัดค้านทั้งสองด้วยกันเอง และทำขึ้นหลังจากผู้ตายถึงแก่ความตายไปแล้ว ไม่เกี่ยวข้องกับการมีสิทธิรับมรดกแต่อย่างใดไม่ก่อให้ผู้ร้องเป็นผู้มีส่วนได้เสียตามกฎหมาย ผู้ร้องจึงไม่มีสิทธิร้องขอตั้งผู้จัดการมรดกของผู้ตายได้
ผู้ร้องยื่นคำร้องขอและแก้ไขคำร้องขอว่า ผู้ร้องมีพี่น้องร่วมบิดามารดาเดียวกันสามคน คือ ผู้ร้อง ผู้คัดค้านที่ 2 และนายภักดี มังกร ผู้ตาย บิดามารดาของผู้ร้องชื่อนายเฉ่ง มังกรและนางเป้า มังกร ถึงแก่ความตายไปก่อนแล้ว ผู้ตายถึงแก่ความตายเมื่อวันที่ 23 ตุลาคม 2531 มีทรัพย์มรดกทั้งสังหาริมทรัพย์และอสังหาริมทรัพย์รวมสองล้านบาทเศษตามบัญชีทรัพย์ท้ายคำร้องผู้ตายมิได้ทำพินัยกรรมและมิได้ตั้งผู้จัดการมรดก แต่ผู้ร้องกับผู้คัดค้านที่ 1 ได้ตกลงทำสัญญาประนีประนอมยอมความที่จะเป็นผู้จัดการมรดกร่วมกัน ขอให้ตั้งผู้ร้องหรือตั้งผู้ร้องร่วมกับผู้คัดค้านที่ 1 หรือผู้ร้องร่วมกับผู้คัดค้านที่ 2 เป็นผู้จัดการมรดกของผู้ตาย
ผู้คัดค้านที่ 1 ยื่นคำคัดค้านและแก้ไขคำคัดค้านว่า ผู้คัดค้านที่ 1 เป็นบุตรชอบด้วยกฎหมายของผู้ตายตามคำสั่งศาล ผู้ร้องเป็นทายาทอันดับ 3 จึงไม่มีสิทธิและไม่มีส่วนได้เสียในกองมรดก ขอให้ยกคำร้องแล้วตั้งผู้คัดค้านที่ 1 เป็นผู้จัดการมรดกของผู้ตาย
ผู้คัดค้านที่ 2 ยื่นคำคัดค้านและแก้ไขคำคัดค้านว่า ผู้ร้องและผู้คัดค้านทั้งสองได้ทำสัญญาประนีประนอมยอมความแบ่งปันมรดกกันผู้คัดค้านที่ 2 จึงเป็นผู้มีส่วนได้เสีย ขอให้ตั้งผู้ร้องและผู้คัดค้านที่ 2 ร่วมกันเป็นผู้จัดการมรดกของผู้ตาย
ศาลชั้นต้นมีคำสั่งตั้งผู้ร้องเป็นผู้จัดการมรดกของนายภักดีมังกร กับให้มีสิทธิและหน้าที่ตามกฎหมาย และให้ยกคำร้องผู้คัดค้านที่ 1 และคำร้องผู้คัดค้านที่ 2
ผู้คัดค้านที่ 1 อุทธรณ์
ศาลอุทธรณ์พิพากษากลับ ให้ตั้งนางสาวลักขณา มังกรหรือพวงสุวรรณ ผู้คัดค้านที่ 1 เป็นผู้จัดการมรดกของนายภักดีมังกร ผู้ตาย โดยให้มีสิทธิและหน้าที่ตามกฎหมาย คำขออื่นให้ยก
ผู้ร้องฎีกา
ศาลฎีกาวินิจฉัยว่า "พิเคราะห์แล้ว ข้อเท็จจริงฟังได้เป็นยุติว่า ผู้ร้อง ผู้คัดค้านที่ 2 และผู้ตายเป็นพี่น้องร่วมบิดามารดาเดียวกัน ส่วนบิดามารดาของบุคคลทั้งสามถึงแก่ความตายไปก่อนแล้ว หลังจากผู้ตายถึงแก่ความตายแล้วศาลมีคำสั่งตั้งนายชัยพล ชอบทำดี เป็นผู้จัดการมรดกของผู้ตาย แต่การจัดการมรดกยังไม่เสร็จสิ้น นายชัยพลก็ถึงแก่ความตาย ผู้ร้องจึงยื่นคำร้องคดีนี้ขอให้ตั้งผู้ร้องหรือตั้งผู้ร้องร่วมกับผู้คัดค้านที่ 1หรือผู้ร้องร่วมกับผู้คัดค้านที่ 2 เป็นผู้จัดการมรดกของผู้ตายแต่ผู้คัดค้านที่ 1 คัดค้านว่า ผู้ร้องไม่ใช่ทายาท จึงไม่มีสิทธิร้องขอตั้งผู้จัดการมรดก ส่วนผู้คัดค้านที่ 1 เป็นบุตรของผู้ตายขอให้ตั้งผู้คัดค้านที่ 1 เป็นผู้จัดการมรดกของผู้ตาย ประเด็นที่ต้องวินิจฉัยตามฎีกาของผู้ร้องมีว่า ผู้ร้องมีสิทธิร้องขอตั้งผู้จัดการมรดกของผู้ตายหรือไม่ เนื่องจากข้อเท็จจริงได้ความว่าผู้ร้องเป็นพี่น้องร่วมบิดามารดาเดียวกันกับผู้ตาย จึงเป็นทายาทลำดับ 3 ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1629(3) ส่วนผู้คัดค้านที่ 1 อ้างว่าเป็นบุตรของผู้ตาย หากรับฟังได้ว่าเป็นผู้สืบสันดานของผู้ตาย ผู้คัดค้านที่ 1 ก็เป็นทายาทลำดับ 1 ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1629(1) ผู้ร้องย่อมไม่มีสิทธิในทรัพย์มรดกของผู้ตาย จึงสมควรวินิจฉัยก่อนว่า ผู้คัดค้านที่ 1เป็นผู้สืบสันดานของผู้ตายหรือไม่ ในข้อนี้ผู้คัดค้านที่ 1 มีผู้คัดค้านที่ 1 และนางกาหลงมาเบิกความว่า นางกาหลงอยู่กินฉันสามีภริยากับผู้ตายโดยไม่ได้จดทะเบียนสมรส ต่อมานางกาหลงตั้งครรภ์ได้ 3-4 เดือน เกิดปัญหากับผู้ร้องเพราะถูกกีดกันจึงออกไปพักอยู่กับนางทวีและนายหอม พวงสุวรรณ ซึ่งเป็นพี่สาวและพี่เขยของนางกาหลง ต่อมาคลอดผู้คัดค้านที่ 1 ที่บ้านของนายหอม หลังจากคลอดแล้วนางกาหลงยังไปมาระหว่างบ้านของนายหอมและบ้านของผู้ตาย ทั้งผู้ตายก็ได้ไปเยี่ยมเยียนผู้คัดค้านที่ 1 ตอนผู้คัดค้านที่ 1 อายุ 3 ปีเศษ นางกาหลงพาผู้คัดค้านที่ 1 ไปคืนให้แก่ผู้ตายแล้วไปทำงานต่างจังหวัดผู้ตายคงให้ผู้คัดค้านที่ 1 อยู่บ้านนายหอม เมื่อผู้คัดค้านที่ 1โตแล้วไปหาผู้ตายที่สวนผู้ตายแนะนำแก่ญาติและเพื่อนบ้านว่าผู้คัดค้านที่ 1 เป็นบุตรของผู้ตาย และออกค่าเล่าเรียนแก่ผู้คัดค้านที่ 1 และมีร้อยตำรวจเอกสุดใจ มังกร ลูกพี่ลูกน้องกับผู้ตายเบิกความว่า มีบ้านอยู่ใกล้กับผู้ตายไปมาหาสู่บ่อยเคยพบผู้คัดค้านที่ 1 อยู่ในที่พักของผู้ตาย ผู้ตายบอกว่าเป็นบุตรของผู้ตาย นอกจากนี้ผู้คัดค้านที่ 1 ยังมีนายฉาง ศรีสุทกมาเบิกความว่า เคยเห็นผู้คัดค้านที่ 1 อยู่ในสวนของผู้ตายสิบกว่าครั้ง ตอนที่ผู้คัดค้านที่ 1 ไปขอค่าเล่าเรียน บางครั้งผู้ตายมีเงินไม่พอได้ขอยืมเงินจากพยานให้แก่ผู้คัดค้านที่ 1 ครั้งละ 300 บาทบ้าง 500 บาท บ้าง ประมาณ 3 ครั้ง และได้ความจากนายทอง คณารมย์อดีตประธานฌาปนกิจสงเคราะห์ของธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร พยานผู้คัดค้านที่ 1 ว่า ตอนผู้ตายไปสมัครเป็นสมาชิกฌาปนกิจสงเคราะห์ ได้ระบุชื่อนางสาวลักขณา พวงสุวรรณ ว่าเป็นบุตรเป็นผู้รับประโยชน์ แต่เนื่องจากนามสกุลของผู้รับประโยชน์ไม่ตรงกับผู้ตาย จึงได้สอบถามผู้ตายตามระเบียบ ผู้ตายก็ยืนยันว่าผู้รับประโยชน์เป็นบุตร ผู้ร้องเองได้เบิกความตอบคำถามค้านของผู้คัดค้านที่ 1 ว่า หลังจากผู้ตายถึงแก่ความตายแล้ว พยานได้พาผู้คัดค้านที่ 1 ไปเบิกเงินค่าฌาปนกิจสงเคราะห์จากธนาคารแสดงว่าผู้ร้องทราบว่าใบสมัครสมาชิกฌาปนกิจสงเคราะห์ได้ระบุว่าผู้คัดค้านที่ 1 เป็นบุตร นอกจากนี้ในการตกลงทำสัญญาประนีประนอมยอมความระหว่างผู้ร้องกับผู้คัดค้านทั้งสองตามเอกสารหมาย ร.10ผู้ร้องก็ยอมรับว่าผู้คัดค้านที่ 1 เป็นทายาทของผู้ตาย เห็นว่าพฤติการณ์ที่ผู้ตายได้แนะนำผู้คัดค้านที่ 1 ต่อบุคคลอื่นว่าผู้ตายเป็นบิดาของผู้คัดค้านที่ 1 ได้ให้ความอุปการะเลี้ยงดูส่งเสียเล่าเรียน ทั้งระบุในใบสมัครสมาชิกฌาปนกิจสงเคราะห์ว่าผู้คัดค้านที่ 1 เป็นบุตรให้เป็นผู้รับประโยชน์ด้วย เช่นนี้ถือได้ว่าผู้ตายได้รับรองผู้คัดค้านที่ 1 เป็นบุตรแล้ว แม้การเป็นบุตรชอบด้วยกฎหมายตามคำสั่งศาลมีผลนับแต่วันมีคำพิพากษาถึงที่สุดแต่เมื่อข้อเท็จจริงฟังได้ว่า ผู้คัดค้านที่ 1 เป็นบุตรนอกกฎหมายที่บิดาได้รับรองแล้ว ย่อมถือว่าเป็นผู้สืบสันดานเหมือนกับบุตรที่ชอบด้วยกฎหมายและมีสิทธิรับมรดกของผู้ตายซึ่งเป็นบิดาได้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1629(1) โดยไม่ต้องจดทะเบียนรับรองและไม่จำต้องขอให้ศาลสั่งแสดงว่าเป็นบุตรชอบด้วยกฎหมายเสียก่อน เมื่อผู้คัดค้านที่ 1 เป็นผู้สืบสันดานโดยเป็นทายาทลำดับ 1ส่วนผู้ร้องเป็นทายาทลำดับ 3 จึงไม่มีสิทธิในทรัพย์มรดกของผู้ตายและถือไม่ได้ว่าผู้ร้องมีส่วนได้เสียในทรัพย์มรดกของผู้ตายด้วยผู้ร้องจึงไม่มีสิทธิร้องขอตั้งผู้จัดการมรดกของผู้ตาย ส่วนที่ผู้ร้องฎีกาอ้างว่า เป็นผู้มีสิทธิรับทรัพย์มรดกตามสัญญาประนีประนอมยอมความที่ทำกับผู้คัดค้านทั้งสองจึงเป็นผู้มีส่วนได้เสียในทรัพย์มรดกของผู้ตายนั้น เห็นว่าสัญญาดังกล่าวเป็นข้อตกลงระหว่างผู้ร้องกับผู้คัดค้านทั้งสองด้วยกันเองและทำขึ้นหลังจากผู้ตายถึงแก่ความตายไปแล้ว ไม่เกี่ยวข้องกับการมีสิทธิรับมรดกแต่อย่างใดไม่ก่อให้ผู้ร้องเป็นผู้มีส่วนได้เสียตามกฎหมาย ผู้ร้องจึงไม่มีสิทธิร้องขอตั้งผู้จัดการมรดกในคดีนี้ ที่ศาลอุทธรณ์พิพากษาให้ตั้งผู้คัดค้านที่ 1 เป็นผู้จัดการมรดกของผู้ตายชอบแล้ว ศาลฎีกาเห็นพ้องด้วย ฎีกาของผู้ร้องฟังไม่ขึ้น"
พิพากษายืน
สิทธิการเช่าตึกแถวระหว่างสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์กับจำเลยเป็นสิทธิเฉพาะตัว และไม่มีข้อตกลงให้จำเลยโอนสิทธิการเช่าได้จึงเป็นทรัพย์สินที่โอนกันไม่ได้ตามกฎหมาย ไม่อยู่ในความรับผิดแห่งการบังคับคดี ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 285(4) โจทก์จึงไม่มีสิทธินำยึดออกขายทอดตลาดเอาเงินมาชำระหนี้โจทก์ได้ เมื่อโจทก์นำเจ้าพนักงานบังคับคดียึดสิทธิการเช่าตึกแถวแล้ว เจ้าพนักงานบังคับคดีได้ประเมินราคาไว้ จึงเป็นทรัพย์สินที่มีราคาอยู่ในตัวแต่ไม่อยู่ในความรับผิดแห่งการบังคับคดีตามกฎหมายโจทก์ผู้นำยึดจึงต้องเสียค่าธรรมเนียมเจ้าพนักงานบังคับคดี
คดีสืบเนื่องมาจากศาลชั้นต้นพิพากษาให้จำเลยชำระเงินพร้อมด้วยดอกเบี้ยอัตราร้อยละเจ็ดครึ่งต่อปี จำเลยอุทธรณ์และยื่นคำร้องขอทุเลาการบังคับในระหว่างอุทธรณ์ แต่จำเลยไม่ปฏิบัติตามคำสั่งของศาลอุทธรณ์ที่กำหนดให้จำเลยหาประกันสำหรับจำนวนเงินที่จะต้องชำระตามคำพิพากษาศาลชั้นต้น โจทก์จึงขอให้ศาลออกหมายบังคับคดีและนำเจ้าพนักงานบังคับคดียึดสิทธิการเช่าตึกแถวซึ่งจำเลยเช่าจากสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์จังหวัดฉะเชิงเทรา เพื่อขายทอดตลาดเอาเงินมาชำระหนี้ตามคำพิพากษา แต่สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์มีหนังสือแจ้งเจ้าพนักงานบังคับคดีว่า ไม่อาจอนุญาตให้นำสิทธิการเช่าตึกแถวที่ยึดออกขายทอดตลาด เพราะมีนโยบายที่จะนำออกจัดหาประโยชน์ด้วยตนเอง เจ้าพนักงานบังคับคดีได้รายงานศาลให้แจ้งโจทก์ถอนการยึดสิทธิการเช่าตึกแถวและเสียค่าธรรมเนียมการยึดแล้วไม่มีการขายร้อยละ 3.5 ศาลชั้นต้นมีคำสั่งเห็นชอบตามรายงานของเจ้าพนักงานบังคับคดี
โจทก์ยื่นคำแถลงว่า หนังสือของสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ที่มีถึงเจ้าพนักงานบังคับคดีว่าไม่อาจอนุญาตให้นำสิทธิการเช่าตึกแถวที่โจทก์นำยึดไว้ขายทอดตลาดได้นั้น ไม่ใช่เหตุที่จะต้องงดการบังคับคดี การที่เจ้าพนักงานบังคับคดีมีหนังสือแจ้งให้โจทก์ถอนการการบังคับคดีจึงไม่ชอบด้วยกฎหมาย ขอให้สั่งเจ้าพนักงานบังคับคดีดำเนินการบังคับคดีต่อไป
ศาลชั้นต้นมีคำสั่งให้โจทก์จัดการถอนการบังคับคดีตามหนังสือของเจ้าพนักงานบังคับคดีให้เรียบร้อยเสียก่อนแล้วให้เจ้าพนักงานบังคับคดีพิจารณาจัดการให้ตามขอต่อไป
โจทก์อุทธรณ์
ศาลอุทธรณ์พิพากษายืน
โจทก์ฎีกา
ศาลฎีกาวินิจฉัยว่า สิทธิการเช่าตึกแถวที่โจทก์นำยึดเพื่อขายทอดตลาด เป็นสิทธิที่จำเลยได้มาจากสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ผู้ให้เช่าเมื่อสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ไม่อนุญาตให้นำสิทธิการเช่าตึกแถวออกขายทอดตลาดเพราะประสงค์จะนำมาหาประโยชน์ด้วยตนเอง ผลจึงเป็นว่าสิทธิการเช่าระหว่างสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์กับจำเลยเป็นสิทธิเฉพาะตัวและไม่มีข้อตกลงให้จำเลยโอนสิทธิการเช่าได้ สิทธิการเช่ารายนี้จึงเป็นทรัพย์สินที่โอนกันไม่ได้ตามกฎหมาย จึงไม่อยู่ในความรับผิดแห่งการบังคับคดี ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 285(4)โจทก์จึงไม่มีสิทธินำยึดออกขายทอดตลาดเอาเงินมาชำระหนี้โจทก์ได้
ที่โจทก์ฎีกาว่า หากศาลฎีกาเห็นว่า สิทธิการเช่าตึกแถวไม่อยู่ในความรับผิดแห่งการบังคับคดีต้องถือว่าทรัพย์สินรายนี้ไม่มีราคาต่อไป โจทก์ไม่ต้องเสียค่าธรรมเนียมเป็นเงิน 3,500 บาท นั้นเห็นว่า เมื่อโจทก์นำเจ้าพนักงานบังคับคดียึดสิทธิการเช่าตึกแถวแล้วเจ้าพนักงานบังคับคดีได้ประเมินราคาไว้ 100,000 บาท จึงเป็นทรัพย์สินที่มีราคาอยู่ในตัว แต่ไม่อยู่ในความรับผิดแห่งการบังคับคดีตามกฎหมาย โจทก์ผู้นำยึดจึงต้องเสียค่าธรรมเนียมเจ้าพนักงานบังคับคดีที่ศาลอุทธรณ์พิพากษามานั้น ศาลฎีกาเห็นพ้องด้วย
พิพากษายืน ฎีกาโจทก์ฟังไม่ขึ้น
สิทธิการเช่าตึกแถวระหว่างสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์กับจำเลยเป็นสิทธิเฉพาะตัว และไม่มีข้อตกลงให้จำเลยโอนสิทธิการเช่าได้จึงเป็นทรัพย์สินที่โอนกันไม่ได้ตามกฎหมาย ไม่อยู่ในความรับผิดแห่งการบังคับคดี ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 285(4) โจทก์จึงไม่มีสิทธินำยึดออกขายทอดตลาดเอาเงินมาชำระหนี้โจทก์ได้ เมื่อโจทก์นำเจ้าพนักงานบังคับคดียึดสิทธิการเช่าตึกแถวแล้ว เจ้าพนักงานบังคับคดีได้ประเมินราคาไว้ จึงเป็นทรัพย์สินที่มีราคาอยู่ในตัวแต่ไม่อยู่ในความรับผิดแห่งการบังคับคดีตามกฎหมายโจทก์ผู้นำยึดจึงต้องเสียค่าธรรมเนียมเจ้าพนักงานบังคับคดี
คดีสืบเนื่องมาจากศาลชั้นต้นพิพากษาให้จำเลยชำระเงินพร้อมด้วยดอกเบี้ยอัตราร้อยละเจ็ดครึ่งต่อปี จำเลยอุทธรณ์และยื่นคำร้องขอทุเลาการบังคับในระหว่างอุทธรณ์ แต่จำเลยไม่ปฏิบัติตามคำสั่งของศาลอุทธรณ์ที่กำหนดให้จำเลยหาประกันสำหรับจำนวนเงินที่จะต้องชำระตามคำพิพากษาศาลชั้นต้น โจทก์จึงขอให้ศาลออกหมายบังคับคดีและนำเจ้าพนักงานบังคับคดียึดสิทธิการเช่าตึกแถวซึ่งจำเลยเช่าจากสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์จังหวัดฉะเชิงเทรา เพื่อขายทอดตลาดเอาเงินมาชำระหนี้ตามคำพิพากษา แต่สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์มีหนังสือแจ้งเจ้าพนักงานบังคับคดีว่า ไม่อาจอนุญาตให้นำสิทธิการเช่าตึกแถวที่ยึดออกขายทอดตลาด เพราะมีนโยบายที่จะนำออกจัดหาประโยชน์ด้วยตนเอง เจ้าพนักงานบังคับคดีได้รายงานศาลให้แจ้งโจทก์ถอนการยึดสิทธิการเช่าตึกแถวและเสียค่าธรรมเนียมการยึดแล้วไม่มีการขายร้อยละ 3.5 ศาลชั้นต้นมีคำสั่งเห็นชอบตามรายงานของเจ้าพนักงานบังคับคดี
โจทก์ยื่นคำแถลงว่า หนังสือของสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ที่มีถึงเจ้าพนักงานบังคับคดีว่าไม่อาจอนุญาตให้นำสิทธิการเช่าตึกแถวที่โจทก์นำยึดไว้ขายทอดตลาดได้นั้น ไม่ใช่เหตุที่จะต้องงดการบังคับคดี การที่เจ้าพนักงานบังคับคดีมีหนังสือแจ้งให้โจทก์ถอนการการบังคับคดีจึงไม่ชอบด้วยกฎหมาย ขอให้สั่งเจ้าพนักงานบังคับคดีดำเนินการบังคับคดีต่อไป
ศาลชั้นต้นมีคำสั่งให้โจทก์จัดการถอนการบังคับคดีตามหนังสือของเจ้าพนักงานบังคับคดีให้เรียบร้อยเสียก่อนแล้วให้เจ้าพนักงานบังคับคดีพิจารณาจัดการให้ตามขอต่อไป
โจทก์อุทธรณ์
ศาลอุทธรณ์พิพากษายืน
โจทก์ฎีกา
ศาลฎีกาวินิจฉัยว่า สิทธิการเช่าตึกแถวที่โจทก์นำยึดเพื่อขายทอดตลาด เป็นสิทธิที่จำเลยได้มาจากสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ผู้ให้เช่าเมื่อสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ไม่อนุญาตให้นำสิทธิการเช่าตึกแถวออกขายทอดตลาดเพราะประสงค์จะนำมาหาประโยชน์ด้วยตนเอง ผลจึงเป็นว่าสิทธิการเช่าระหว่างสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์กับจำเลยเป็นสิทธิเฉพาะตัวและไม่มีข้อตกลงให้จำเลยโอนสิทธิการเช่าได้ สิทธิการเช่ารายนี้จึงเป็นทรัพย์สินที่โอนกันไม่ได้ตามกฎหมาย จึงไม่อยู่ในความรับผิดแห่งการบังคับคดี ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 285(4)โจทก์จึงไม่มีสิทธินำยึดออกขายทอดตลาดเอาเงินมาชำระหนี้โจทก์ได้
ที่โจทก์ฎีกาว่า หากศาลฎีกาเห็นว่า สิทธิการเช่าตึกแถวไม่อยู่ในความรับผิดแห่งการบังคับคดีต้องถือว่าทรัพย์สินรายนี้ไม่มีราคาต่อไป โจทก์ไม่ต้องเสียค่าธรรมเนียมเป็นเงิน 3,500 บาท นั้นเห็นว่า เมื่อโจทก์นำเจ้าพนักงานบังคับคดียึดสิทธิการเช่าตึกแถวแล้วเจ้าพนักงานบังคับคดีได้ประเมินราคาไว้ 100,000 บาท จึงเป็นทรัพย์สินที่มีราคาอยู่ในตัว แต่ไม่อยู่ในความรับผิดแห่งการบังคับคดีตามกฎหมาย โจทก์ผู้นำยึดจึงต้องเสียค่าธรรมเนียมเจ้าพนักงานบังคับคดีที่ศาลอุทธรณ์พิพากษามานั้น ศาลฎีกาเห็นพ้องด้วย
พิพากษายืน ฎีกาโจทก์ฟังไม่ขึ้น
สิทธิการเช่าตึกแถวที่โจทก์นำยึดเพื่อขายทอดตลาด เป็นสิทธิที่จำเลยได้มาจากสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ผู้ให้เช่าเมื่อผู้ให้เช่าไม่อนุญาตให้นำสิทธิการเช่าตึกแถวออกขายทอดตลาดเพราะประสงค์จะนำมาหาประโยชน์ด้วยตนเอง สิทธิการเช่าดังกล่าวจึงเป็นสิทธิเฉพาะตัวและเมื่อไม่มีข้อตกลงให้จำเลยโอนสิทธิการเช่าได้ สิทธิการเช่ารายนี้จึงเป็นทรัพย์สินที่โอนกันไม่ได้ตามกฎหมายไม่อยู่ในความรับผิดแห่งการบังคับคดีตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 285(4) โจทก์จึงไม่มีสิทธินำยึดออกขายทอดตลาดได้ อย่างไรก็ตาม เมื่อโจทก์นำเจ้าพนักงานบังคับคดียึดสิทธิการเช่าตึกแถวแล้วเจ้าพนักงานบังคับคดีได้ประเมินราคาไว้จึงเป็นทรัพย์สินที่มีราคาอยู่ในตัว แม้จะไม่อยู่ในความรับผิดแห่งการบังคับคดีตามกฎหมายโจทก์ผู้นำยึดจึงต้องเสียค่าธรรมเนียมเจ้าพนักงานบังคับคดีด้วย
คดีสืบเนื่องมาจากศาลชั้นต้นพิพากษาให้จำเลยชำระเงินจำนวน130,000 บาท พร้อมด้วยดอกเบี้ยอัตราร้อยละเจ็ดครึ่งต่อปี นับแต่วันที่ 20 กรกฎาคม 2531 จนกว่าจะชำระเสร็จแก่โจทก์ จำเลยอุทธรณ์และยื่นคำร้องขอทุเลาการบังคับในระหว่างอุทธรณ์ แต่จำเลยไม่ปฏิบัติตามคำสั่งของศาลอุทธรณ์ที่กำหนดให้จำเลยหาประกัน สำหรับจำนวนเงินที่จะต้องชำระตามคำพิพากษาศาลชั้นต้น โจทก์จึงขอให้ศาลออกหมายบังคับคดีและนำเจ้าพนักงานบังคับคดียึดสิทธิการเช่าตึกแถว เลขที่ 97/29ถนนชุมพล ตำบลหน้าเมือง อำเภอเมืองฉะเชิงเทรา จังหวัดฉะเชิงเทราซึ่งจำเลยเช่าจากสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์จังหวัดฉะเชิงเทรา เพื่อขายทอดตลาดเอาเงินมาชำระหนี้ตามคำพิพากษาแต่สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์มีหนังสือลงวันที่ 10 ตุลาคม2533 แจ้งเจ้าพนักงานบังคับคดีว่า ไม่อาจอนุญาตให้นำสิทธิการเช่าตึกแถวที่ยึดออกขายทอดตลาด เพราะมีนโยบายที่จะนำออกจัดหาประโยชน์ด้วยตนเอง เจ้าพนักงานบังคับคดีได้รายงานศาลให้แจ้งโจทก์ถอนการยึดสิทธิการเช่าตึกแถวและเสียค่าธรรมเนียมการยึดแล้วไม่มีการขายร้อยละ 3.5 ศาลชั้นต้นมีคำสั่งเห็นชอบตามรายงานของเจ้าพนักงานบังคับคดี
โจทก์ยื่นคำแถลงฉบับลงวันที่ 15 ตุลาคม 2533 ว่า หนังสือของสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ที่มีถึงเจ้าพนักงานบังคับคดีว่าไม่อาจอนุญาตให้นำสิทธิการเช่าตึกแถวที่โจทก์นำยึดไว้ขายทอดตลาดได้นั้น ไม่ใช่เหตุที่จะต้องงดการบังคับคดี การที่เจ้าพนักงานบังคับคดีมีหนังสือแจ้งให้โจทก์ถอนการบังคับคดีจึงไม่ชอบด้วยกฎหมายขอให้สั่งเจ้าพนักงานบังคับคดีดำเนินการบังคับคดีต่อไป
ศาลชั้นต้นมีคำสั่งให้โจทก์จัดการถอนการบังคับคดีตามหนังสือของเจ้าพนักงานบังคับคดีให้เรียบร้อยเสียก่อน แล้วให้เจ้าพนักงานบังคับคดีพิจารณาจัดการให้ตามข้อต่อไป
โจทก์อุทธรณ์
ศาลอุทธรณ์พิพากษายืน
โจทก์ฎีกาว่า
ศาลฎีกาวินิจฉัยว่า "เห็นว่า สิทธิการเช่าตึกแถวที่โจทก์นำยึดเพื่อขายทอดตลาด เป็นสิทธิที่จำเลยได้มาจากสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ผู้ให้เช่า เมื่อสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ไม่อนุญาตให้นำสิทธิการเช่าตึกแถวออกขายทอดตลาดเพราะประสงค์จะนำมาหาประโยชน์ด้วยตนเอง ผลจึงเป็นว่าสิทธิการเช่าระหว่างสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์กับจำเลยเป็นสิทธิเฉพาะตัว และไม่มีข้อตกลงให้จำเลยโอนสิทธิการเช่าได้สิทธิการเช่ารายนี้จึงเป็นทรัพย์สินที่โอนกันไม่ได้ตามกฎหมายจึงไม่อยู่ในความรับผิดแห่งการบังคับคดี ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 285(4) โจทก์จึงไม่มีสิทธินำยึดออกขายทอดตลาดเอาเงินมาชำระหนี้โจทก์ได้
ที่โจทก์ฎีกาว่า หากศาลฎีกาเห็นว่า สิทธิการเช่าตึกแถวไม่อยู่ในความรับผิดแห่งการบังคับคดีต้องถือว่าทรัพย์สินรายนี้ไม่มีราคาต่อไป โจทก์ไม่ต้องเสียค่าธรรมเนียมเป็นเงิน 3,500 บาท นั้นเห็นว่า เมื่อโจทก์นำเจ้าพนักงานบังคับคดียึดสิทธิการเช่าตึกแถวแล้วเจ้าพนักงานบังคับคดีได้ประเมินราคาไว้ 100,000 บาท จึงเป็นทรัพย์สินที่มีราคาอยู่ในตัว แต่ไม่อยู่ในความรับผิดแห่งการบังคับคดีตามกฎหมาย โจทก์ผู้นำยึดจึงต้องเสียค่าธรรมเนียมเจ้าพนักงานบังคับคดี ที่ศาลอุทธรณ์พิพากษามานั้น ศาลฎีกาเห็นพ้องด้วย ฎีกาโจทก์ฟังไม่ขึ้น"
พิพากษายืน
สิทธิการเช่าตึกแถวที่โจทก์นำยึดเพื่อขายทอดตลาด เป็นสิทธิที่จำเลยได้มาจากสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ผู้ให้เช่าเมื่อผู้ให้เช่าไม่อนุญาตให้นำสิทธิการเช่าตึกแถวออกขายทอดตลาดเพราะประสงค์จะนำมาหาประโยชน์ด้วยตนเอง สิทธิการเช่าดังกล่าวจึงเป็นสิทธิเฉพาะตัวและเมื่อไม่มีข้อตกลงให้จำเลยโอนสิทธิการเช่าได้ สิทธิการเช่ารายนี้จึงเป็นทรัพย์สินที่โอนกันไม่ได้ตามกฎหมายไม่อยู่ในความรับผิดแห่งการบังคับคดีตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 285(4) โจทก์จึงไม่มีสิทธินำยึดออกขายทอดตลาดได้ อย่างไรก็ตาม เมื่อโจทก์นำเจ้าพนักงานบังคับคดียึดสิทธิการเช่าตึกแถวแล้วเจ้าพนักงานบังคับคดีได้ประเมินราคาไว้จึงเป็นทรัพย์สินที่มีราคาอยู่ในตัว แม้จะไม่อยู่ในความรับผิดแห่งการบังคับคดีตามกฎหมายโจทก์ผู้นำยึดจึงต้องเสียค่าธรรมเนียมเจ้าพนักงานบังคับคดีด้วย
คดีสืบเนื่องมาจากศาลชั้นต้นพิพากษาให้จำเลยชำระเงินจำนวน130,000 บาท พร้อมด้วยดอกเบี้ยอัตราร้อยละเจ็ดครึ่งต่อปี นับแต่วันที่ 20 กรกฎาคม 2531 จนกว่าจะชำระเสร็จแก่โจทก์ จำเลยอุทธรณ์และยื่นคำร้องขอทุเลาการบังคับในระหว่างอุทธรณ์ แต่จำเลยไม่ปฏิบัติตามคำสั่งของศาลอุทธรณ์ที่กำหนดให้จำเลยหาประกัน สำหรับจำนวนเงินที่จะต้องชำระตามคำพิพากษาศาลชั้นต้น โจทก์จึงขอให้ศาลออกหมายบังคับคดีและนำเจ้าพนักงานบังคับคดียึดสิทธิการเช่าตึกแถว เลขที่ 97/29ถนนชุมพล ตำบลหน้าเมือง อำเภอเมืองฉะเชิงเทรา จังหวัดฉะเชิงเทราซึ่งจำเลยเช่าจากสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์จังหวัดฉะเชิงเทรา เพื่อขายทอดตลาดเอาเงินมาชำระหนี้ตามคำพิพากษาแต่สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์มีหนังสือลงวันที่ 10 ตุลาคม2533 แจ้งเจ้าพนักงานบังคับคดีว่า ไม่อาจอนุญาตให้นำสิทธิการเช่าตึกแถวที่ยึดออกขายทอดตลาด เพราะมีนโยบายที่จะนำออกจัดหาประโยชน์ด้วยตนเอง เจ้าพนักงานบังคับคดีได้รายงานศาลให้แจ้งโจทก์ถอนการยึดสิทธิการเช่าตึกแถวและเสียค่าธรรมเนียมการยึดแล้วไม่มีการขายร้อยละ 3.5 ศาลชั้นต้นมีคำสั่งเห็นชอบตามรายงานของเจ้าพนักงานบังคับคดี
โจทก์ยื่นคำแถลงฉบับลงวันที่ 15 ตุลาคม 2533 ว่า หนังสือของสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ที่มีถึงเจ้าพนักงานบังคับคดีว่าไม่อาจอนุญาตให้นำสิทธิการเช่าตึกแถวที่โจทก์นำยึดไว้ขายทอดตลาดได้นั้น ไม่ใช่เหตุที่จะต้องงดการบังคับคดี การที่เจ้าพนักงานบังคับคดีมีหนังสือแจ้งให้โจทก์ถอนการบังคับคดีจึงไม่ชอบด้วยกฎหมายขอให้สั่งเจ้าพนักงานบังคับคดีดำเนินการบังคับคดีต่อไป
ศาลชั้นต้นมีคำสั่งให้โจทก์จัดการถอนการบังคับคดีตามหนังสือของเจ้าพนักงานบังคับคดีให้เรียบร้อยเสียก่อน แล้วให้เจ้าพนักงานบังคับคดีพิจารณาจัดการให้ตามข้อต่อไป
โจทก์อุทธรณ์
ศาลอุทธรณ์พิพากษายืน
โจทก์ฎีกาว่า
ศาลฎีกาวินิจฉัยว่า "เห็นว่า สิทธิการเช่าตึกแถวที่โจทก์นำยึดเพื่อขายทอดตลาด เป็นสิทธิที่จำเลยได้มาจากสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ผู้ให้เช่า เมื่อสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ไม่อนุญาตให้นำสิทธิการเช่าตึกแถวออกขายทอดตลาดเพราะประสงค์จะนำมาหาประโยชน์ด้วยตนเอง ผลจึงเป็นว่าสิทธิการเช่าระหว่างสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์กับจำเลยเป็นสิทธิเฉพาะตัว และไม่มีข้อตกลงให้จำเลยโอนสิทธิการเช่าได้สิทธิการเช่ารายนี้จึงเป็นทรัพย์สินที่โอนกันไม่ได้ตามกฎหมายจึงไม่อยู่ในความรับผิดแห่งการบังคับคดี ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 285(4) โจทก์จึงไม่มีสิทธินำยึดออกขายทอดตลาดเอาเงินมาชำระหนี้โจทก์ได้
ที่โจทก์ฎีกาว่า หากศาลฎีกาเห็นว่า สิทธิการเช่าตึกแถวไม่อยู่ในความรับผิดแห่งการบังคับคดีต้องถือว่าทรัพย์สินรายนี้ไม่มีราคาต่อไป โจทก์ไม่ต้องเสียค่าธรรมเนียมเป็นเงิน 3,500 บาท นั้นเห็นว่า เมื่อโจทก์นำเจ้าพนักงานบังคับคดียึดสิทธิการเช่าตึกแถวแล้วเจ้าพนักงานบังคับคดีได้ประเมินราคาไว้ 100,000 บาท จึงเป็นทรัพย์สินที่มีราคาอยู่ในตัว แต่ไม่อยู่ในความรับผิดแห่งการบังคับคดีตามกฎหมาย โจทก์ผู้นำยึดจึงต้องเสียค่าธรรมเนียมเจ้าพนักงานบังคับคดี ที่ศาลอุทธรณ์พิพากษามานั้น ศาลฎีกาเห็นพ้องด้วย ฎีกาโจทก์ฟังไม่ขึ้น"
พิพากษายืน
ตามคำพิพากษาศาลฎีกาที่หมายเหตุนี้ มีคำวินิจฉัยที่น่าพิจารณาและเป็นข้อพึงระมัดระวังสำหรับเจ้าหนี้ตามคำพิพากษาอยู่ 2 ประการ 1. สิทธิการเช่าที่ผู้ให้เช่าไม่อนุญาตให้นำออกขายทอดตลาดและไม่มีข้อตกลงให้โอนสิทธิการเช่าได้เป็นสิทธิเฉพาะตัวเป็นทรัพย์สินที่โอนกันไม่ได้ตามกฎหมายจึงไม่อยู่ในความรับผิดแห่งการบังคับคดีตาม ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 285(4) 2. การยึดทรัพย์ที่โจทก์ไม่มีสิทธินำยึดก็ต้องอยู่ในบังคับที่จะต้องเสียค่าธรรมเนียมการยึดแล้วไม่มีการขาย กรณีตาม 1. เป็นการวินิจฉัยตามหลักของประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 285(4) กล่าวคือทรัพย์สินที่โอนกันไม่ได้ตามกฎหมายไม่อยู่ในความรับผิดแห่งการบังคับคดี ศาลฎีกาวินิจฉัยว่าสิทธิการเช่าที่โจทก์นำยึดเป็นทรัพย์สินที่โอนกันไม่ได้ตามกฎหมาย ก็เนื่องจากตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 544 บัญญัติไว้ว่าทรัพย์สินที่เช่า ผู้เช่าจะให้เช่าช่วง หรือโอนสิทธิของตนให้บุคคลภายนอกหาได้ไม่ เว้นแต่จะได้ตกลงกันไว้เป็นอย่างอื่นในสัญญาเช่าจากบทบัญญัติดังกล่าวนี้เองทำให้สิทธิตามสัญญาเช่าเป็นสิทธิเฉพาะตัวไม่อาจโอนกันได้ เว้นแต่จะมีข้อตกลงในสัญญาว่าให้โอนกันได้ในทางปฏิบัติทุกวันนี้สิทธิการเช่าซึ่งเป็นทรัพย์สินอย่างหนึ่งมีราคาสูงมาก สำหรับสิทธิการเช่าที่อยู่ในแหล่งการค้า มีธนาคารและสถาบันการเงินยอมรับการมอบสิทธิการเช่าเป็นหลักประกันหนี้ที่ลูกค้ากู้ยืม หรือขอสินเชื่อไป แต่สิทธิการเช่านี้ตามสัญญาเช่าต้องระบุให้โอนสิทธิการเช่าได้ ซึ่งเรียกกันว่าการมอบสิทธิการเช่าเป็นหลักประกัน โดยในการทำสัญญามอบสิทธิการเช่านี้ ธนาคารหรือสถาบันการเงินจะให้ผู้ให้เช่าเข้ามาผูกพันในการมอบสิทธิเช่นให้ผู้ให้เช่ายินยอมด้วยในการมอบสิทธิดังกล่าวเป็นประกันหรือมีหนังสือแจ้งให้ผู้ให้เช่าทราบถึงการมอบสิทธิ อย่างไรก็ตามในทางปฏิบัติการยึดสิทธิการเช่าของเจ้าพนักงานบังคับคดีแม้ในสัญญาเช่าจะอนุญาตให้โอนสิทธิการเช่าก็ตามเจ้าพนักงานบังคับคดีจะแจ้งเป็นหนังสือให้แก่ผู้ให้เช่าทราบถึงการยึดด้วย หรือก่อนนำยึดสิทธิการเช่า โจทก์ผู้เป็นเจ้าหนี้อาจขอให้เจ้าพนักงานบังคับคดีมีหนังสือสอบถามไปยังผู้ให้เช่า ว่าจะยินยอมให้นำสิทธิการเช่าออกขายทอดตลาดหรือไม่ก่อนก็ได้ เมื่อผู้ให้เช่ายินยอมถึงนำยึด ถ้าไม่ยินยอมก็แล้วแต่โจทก์จะยืนยันให้ยึดหรือไม่ กรณีตามคำพิพากษาศาลฎีกาที่หมายเหตุนี้ก็เช่นกันเจ้าพนักงานบังคับคดีแจ้งการยึดสิทธิการเช่าแก่สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ในฐานะผู้ให้เช่าทราบ สำนักงานทรัพย์สินในฐานะผู้ให้เช่ามีหนังสือมาถึงเจ้าพนักงานบังคับคดีว่าไม่อาจอนุญาตให้นำสิทธิการเช่าออกขายได้ เมื่อเป็นเช่นนี้สิทธิการเช่าดังกล่าวจึงไม่อาจโอนกันได้ ตามคำพิพากษาศาลฎีกาไม่ปรากฏข้อเท็จจริงว่าสัญญาเช่าระหว่างจำเลยกับสำนักงานทรัพย์สินอนุญาตให้โอนสิทธิการเช่าได้หรือไม่ แต่ผู้บันทึกเห็นว่า สัญญาเช่าระหว่างสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์กับจำเลยคงไม่อนุญาตให้โอนสิทธิการเช่าได้ เพราะหากอนุญาตให้โอนสิทธิการเช่าแล้วก็คงไม่สามารถเปลี่ยนแปลงเป็นไม่อนุญาตได้ เว้นแต่จะมีข้อความระบุในสัญญาให้สิทธิในการยกเลิกข้อตกลงดังกล่าวได้โดยฝ่ายเดียว และจะเห็นได้จากคำวินิจฉัยของศาลฎีกาที่วินิจฉัยไว้ว่า และไม่มีข้อตกลงให้จำเลยโอนสิทธิการเช่าได้ ก่อนหน้านี้ก็เคยมีคำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2180/2522 วินิจฉัยเช่นเดียวกับคำพิพากษาศาลฎีกาที่หมายเหตุนี้ว่า การเช่าทรัพย์สินที่โอนการเช่าไม่ได้เป็นสิทธิเฉพาะตัวแต่ถ้าตกลงยกเว้นให้โอนกันได้ ก็อาจยึดสิทธิการเช่าในการบังคับคดีได้ สำหรับกรณีตามข้อ 2 ที่วินิจฉัยว่าการถอนการยึดในกรณีที่ทรัพย์นั้นไม่อยู่ในความรับผิดในการบังคับคดีก็ต้องเสียค่าธรรมเนียมการยึดแล้วไม่มีการขายร้อยละ 3.5 ซึ่งผู้บันทึกเห็นว่าเป็นการถูกต้องและชอบด้วยเหตุผล เนื่องจากตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 149 บัญญัติให้คู่ความที่ดำเนินกระบวนพิจารณานั้นเป็นผู้รับผิดชอบในการชำระค่าธรรมเนียมและตามตาราง 5 ค่าธรรมเนียมเจ้าพนักงานบังคับคดีท้ายประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง ก็กำหนดเพียงว่า เมื่อยึดทรัพย์สินซึ่งไม่ใช่ตัวเงินแล้วไม่มีการขายหรือจำหน่ายต้องเสียค่าธรรมเนียมซึ่งไม่มีข้อยกเว้นไว้ว่า หากเป็นทรัพย์ที่ไม่อยู่ในความรับผิดแห่งการบังคับคดีแล้วจะไม่ต้องเสีย ในทางปฏิบัติเมื่อปรากฏว่าทรัพย์สินที่โจทก์นำยึดไม่อยู่ในความรับผิดในการบังคับคดีเจ้าพนักงานบังคับคดีจะรายงานให้ศาลแจ้งให้โจทก์ดำเนินการถอนการยึดและเสียค่าธรรมเนียม ดังนั้นจึงเป็นข้อพึงระมัดระวังสำหรับเจ้าหนี้ตามคำพิพากษาที่จะนำยึดทรัพย์สินของลูกหนี้ตามคำพิพากษาให้ตรวจตราให้ดีเสียก่อน มิเช่นนั้นอาจจะต้องรับผิดค่าธรรมเนียมยึดแล้วไม่มีการขายซึ่งค่าธรรมเนียมนี้ศาลจะใช้ดุลยพินิจให้ฝ่ายจำเลยรับผิดแทนโจทก์ไม่ได้ เช่น คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 767/2535 วินิจฉัยว่า เมื่อโจทก์เป็นฝ่ายดำเนินการบังคับคดีนำยึดที่ดิน โดยอ้างว่าเป็นทรัพย์สินของจำเลย เพื่อขายทอดตลาดเอาเงินมาชำระหนี้ แต่มีเหตุที่จะต้องถอนการยึดทรัพย์สินนั้น โจทก์ย่อมมีหน้าที่ต้องเสียค่าธรรมเนียมยึดแล้วไม่มีการขายตาม ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 149 และตาราง 5 ข้อ 3 ท้าย ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งทั้งนี้ โดยไม่คำนึงว่าโจทก์จะนำยึดโดยสุจริตและเป็นผู้ขอให้ถอนการยึดหรือไม่ กรณีไม่ใช่เรื่องของความรับผิดชั้นที่สุดสำหรับค่าฤชาธรรมเนียมของคู่ความในคดี ศาลจึงไม่อาจใช้ดุลยพินิจให้ฝ่ายจำเลยต้องรับผิดแทนฝ่ายโจทก์ได้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 161(เฉพาะตอนท้ายของคำพิพากษาศาลฎีกานี้เป็นการวินิจฉัยกลับหลักตามคำพิพากษาศาลฎีกาที่ 6485/2531 ซึ่งเคยวินิจฉัยไว้ว่าค่าธรรมเนียมตามตาราง 5ข้อ 3 ท้าย ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง ถ้ามีพฤติการณ์เห็นได้ว่าจำเลยประวิงการบังคับคดีโดยไม่สุจริต ศาลใช้ดุลยพินิจให้จำเลยเป็นผู้ชำระตาม ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 161) สมกุมชาด
ข้อสันนิษฐานตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 437เป็นกรณีที่เกี่ยวกับผู้ครอบครองหรือควบคุมดูแลรถยนต์ไปเกิดเหตุโดยตรงซึ่งจะต้องรับผิดต่อคู่กรณีอีกฝ่ายหนึ่งที่มิได้ครอบครองหรือควบคุมดูแลยานพาหนะอันเดินด้วยกำลังเครื่องจักรกล จำเลยไม่ได้ครอบครองหรือควบคุมดูแลรถยนต์ขณะเกิดเหตุ เป็นแต่เพียงมีชื่อเป็นเจ้าของในทะเบียนเท่านั้น ทั้งเป็นกรณีที่ยานพาหนะที่เดินด้วยกำลังเครื่องจักรกลชนกัน จึงไม่ต้องด้วยข้อสันนิษฐานของบทกฎหมายดังกล่าว
โจทก์ฟ้องว่า โจทก์เป็นผู้รับประกันภัยรถยนต์หมายเลขทะเบียนก-6179 นครราชสีมา จำเลยที่ 1 เป็นลูกจ้างของจำเลยที่ 3 จำเลยที่ 2เป็นเจ้าของและผู้ครอบครองรถยนต์หมายเลขทะเบียน 80-4140 ชลบุรีวันที่ 30 พฤศจิกายน 2529 เวลาประมาณ 9.30 นาฬิกา จำเลยที่ 1ขับรถยนต์หมายเลขทะเบียน 80-4140 ชลบุรี ไปในทางการที่จ้างของจำเลยที่ 2 ที่ 3 โดยประมาทชนรถยนต์หมายเลขทะเบียน ก-6179นครราชสีมา ได้รับความเสียหาย ขอให้บังคับจำเลยทั้งสามร่วมกันชำระเงินแก่โจทก์พร้อมด้วยดอกเบี้ย
จำเลยทั้งสามให้การว่า นายตุ๋ยเป็นคนขับรถยนต์หมายเลขทะเบียน 80-4140 ชลบุรี ขณะเกิดเหตุ โดยมีจำเลยที่ 1 นั่งอยู่ด้านซ้ายคนขับ เหตุที่รถชนกันเกิดจากความประมาทของนางสาวกนกวรรณ อภิรัฐไพโรจน์ ผู้ขับรถยนต์หมายเลขทะเบียนก-6179 นครราชสีมา ซึ่งขับรถมาด้วยความเร็วสูง จำเลยที่ 2มิใช่ผู้ครอบครองรถยนต์หมายเลขทะเบียน 80-4140 ชลบุรี ในขณะเกิดเหตุเพราะนายปัญญา ทองมิตร ได้เช่ารถคันดังกล่าวจากจำเลยที่ 2ไปมีกำหนด 1 ปี จำเลยที่ 3 มิได้เป็นนายจ้างของจำเลยที่ 1ขอให้ยกฟ้อง
ศาลชั้นต้นพิพากษาให้จำเลยที่ 1 ชำระเงินจำนวน 125,375 บาทพร้อมด้วยดอกเบี้ยในอัตราร้อยละเจ็ดครึ่งต่อปีนับตั้งแต่วันที่27 มีนาคม 2530 เป็นต้นไปจนกว่าจะชำระเสร็จแก่โจทก์ ให้ยกฟ้องโจทก์สำหรับจำเลยที่ 2 ที่ 3
โจทก์อุทธรณ์
ศาลอุทธรณ์พิพากษาแก้เป็นว่า ให้จำเลยที่ 1 ชำระเงินจำนวน159,000 บาท พร้อมด้วยดอกเบี้ยร้อยละเจ็ดครึ่งต่อปีนับแต่วันที่27 มีนาคม 2530 เป็นต้นไปจนกว่าจะชำระเสร็จแก่โจทก์ นอกจากที่แก้ให้เป็นไปตามคำพิพากษาศาลชั้นต้น
โจทก์ฎีกา
ศาลฎีกาวินิจฉัยว่า "คดีมีปัญหาข้อกฎหมายตามฎีกาของโจทก์เพียงข้อเดียวว่าจำเลยที่ 2 เป็นเจ้าของรถยนต์หมายเลขทะเบียน80-4140 ชลบุรี คันเกิดเหตุ จึงเข้าข้อสันนิษฐานของบทบัญญัติประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 437 และต้องรับผิดต่อโจทก์หรือไม่ ข้อเท็จจริงได้ความตามที่ศาลอุทธรณ์ฟังมาว่า จำเลยที่ 2มีชื่อเป็นเจ้าของรถในทะเบียนเท่านั้น ขณะที่เกิดเหตุจำเลยที่ 2ไม่ได้นั่งไปในรถด้วย เห็นว่าข้อสันนิษฐานตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 437 เป็นกรณีที่เกี่ยวกับผู้ครอบครองหรือควบคุมดูแลรถยนต์ไปเกิดเหตุโดยตรงซึ่งจะต้องรับผิดชอบต่อคู่กรณีอีกฝ่ายหนึ่งที่มิได้ครอบครองหรือควบคุมดูแลยานพาหนะอันเดินด้วยกำลังเครื่องจักรกล จำเลยที่ 2 ไม่ได้ครอบครองหรือควบคุมดูแลรถยนต์ขณะที่เกิดเหตุ เป็นแต่เพียงมีชื่อเป็นเจ้าของในทะเบียนเท่านั้น ทั้งเป็นกรณีที่ยานพาหนะที่เดินด้วยกำลังเครื่องจักรกลชนกัน จึงไม่ต้องด้วยข้อสันนิษฐานของบทกฎหมายดังกล่าว"
พิพากษายืน
ข้อสันนิษฐานตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 437เป็นกรณีที่เกี่ยวกับผู้ครอบครองหรือควบคุมดูแลรถยนต์ไปเกิดเหตุโดยตรงซึ่งจะต้องรับผิดต่อคู่กรณีอีกฝ่ายหนึ่งที่มิได้ครอบครองหรือควบคุมดูแลยานพาหนะอันเดินด้วยกำลังเครื่องจักรกล จำเลยไม่ได้ครอบครองหรือควบคุมดูแลรถยนต์ขณะเกิดเหตุ เป็นแต่เพียงมีชื่อเป็นเจ้าของในทะเบียนเท่านั้น ทั้งเป็นกรณีที่ยานพาหนะที่เดินด้วยกำลังเครื่องจักรกลชนกัน จึงไม่ต้องด้วยข้อสันนิษฐานของบทกฎหมายดังกล่าว
โจทก์ฟ้องว่า โจทก์เป็นผู้รับประกันภัยรถยนต์หมายเลขทะเบียนก-6179 นครราชสีมา จำเลยที่ 1 เป็นลูกจ้างของจำเลยที่ 3 จำเลยที่ 2เป็นเจ้าของและผู้ครอบครองรถยนต์หมายเลขทะเบียน 80-4140 ชลบุรีวันที่ 30 พฤศจิกายน 2529 เวลาประมาณ 9.30 นาฬิกา จำเลยที่ 1ขับรถยนต์หมายเลขทะเบียน 80-4140 ชลบุรี ไปในทางการที่จ้างของจำเลยที่ 2 ที่ 3 โดยประมาทชนรถยนต์หมายเลขทะเบียน ก-6179นครราชสีมา ได้รับความเสียหาย ขอให้บังคับจำเลยทั้งสามร่วมกันชำระเงินแก่โจทก์พร้อมด้วยดอกเบี้ย
จำเลยทั้งสามให้การว่า นายตุ๋ยเป็นคนขับรถยนต์หมายเลขทะเบียน 80-4140 ชลบุรี ขณะเกิดเหตุ โดยมีจำเลยที่ 1 นั่งอยู่ด้านซ้ายคนขับ เหตุที่รถชนกันเกิดจากความประมาทของนางสาวกนกวรรณ อภิรัฐไพโรจน์ ผู้ขับรถยนต์หมายเลขทะเบียนก-6179 นครราชสีมา ซึ่งขับรถมาด้วยความเร็วสูง จำเลยที่ 2มิใช่ผู้ครอบครองรถยนต์หมายเลขทะเบียน 80-4140 ชลบุรี ในขณะเกิดเหตุเพราะนายปัญญา ทองมิตร ได้เช่ารถคันดังกล่าวจากจำเลยที่ 2ไปมีกำหนด 1 ปี จำเลยที่ 3 มิได้เป็นนายจ้างของจำเลยที่ 1ขอให้ยกฟ้อง
ศาลชั้นต้นพิพากษาให้จำเลยที่ 1 ชำระเงินจำนวน 125,375 บาทพร้อมด้วยดอกเบี้ยในอัตราร้อยละเจ็ดครึ่งต่อปีนับตั้งแต่วันที่27 มีนาคม 2530 เป็นต้นไปจนกว่าจะชำระเสร็จแก่โจทก์ ให้ยกฟ้องโจทก์สำหรับจำเลยที่ 2 ที่ 3
โจทก์อุทธรณ์
ศาลอุทธรณ์พิพากษาแก้เป็นว่า ให้จำเลยที่ 1 ชำระเงินจำนวน159,000 บาท พร้อมด้วยดอกเบี้ยร้อยละเจ็ดครึ่งต่อปีนับแต่วันที่27 มีนาคม 2530 เป็นต้นไปจนกว่าจะชำระเสร็จแก่โจทก์ นอกจากที่แก้ให้เป็นไปตามคำพิพากษาศาลชั้นต้น
โจทก์ฎีกา
ศาลฎีกาวินิจฉัยว่า "คดีมีปัญหาข้อกฎหมายตามฎีกาของโจทก์เพียงข้อเดียวว่าจำเลยที่ 2 เป็นเจ้าของรถยนต์หมายเลขทะเบียน80-4140 ชลบุรี คันเกิดเหตุ จึงเข้าข้อสันนิษฐานของบทบัญญัติประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 437 และต้องรับผิดต่อโจทก์หรือไม่ ข้อเท็จจริงได้ความตามที่ศาลอุทธรณ์ฟังมาว่า จำเลยที่ 2มีชื่อเป็นเจ้าของรถในทะเบียนเท่านั้น ขณะที่เกิดเหตุจำเลยที่ 2ไม่ได้นั่งไปในรถด้วย เห็นว่าข้อสันนิษฐานตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 437 เป็นกรณีที่เกี่ยวกับผู้ครอบครองหรือควบคุมดูแลรถยนต์ไปเกิดเหตุโดยตรงซึ่งจะต้องรับผิดชอบต่อคู่กรณีอีกฝ่ายหนึ่งที่มิได้ครอบครองหรือควบคุมดูแลยานพาหนะอันเดินด้วยกำลังเครื่องจักรกล จำเลยที่ 2 ไม่ได้ครอบครองหรือควบคุมดูแลรถยนต์ขณะที่เกิดเหตุ เป็นแต่เพียงมีชื่อเป็นเจ้าของในทะเบียนเท่านั้น ทั้งเป็นกรณีที่ยานพาหนะที่เดินด้วยกำลังเครื่องจักรกลชนกัน จึงไม่ต้องด้วยข้อสันนิษฐานของบทกฎหมายดังกล่าว"
พิพากษายืน
ระเบียบกระทรวงยุติธรรมว่าด้วยการบังคับคดีของเจ้าพนักงานบังคับคดี พ.ศ. 2522 ข้อ 83 ที่กำหนดให้ผู้ขายทอดตลาดร้องขานจำนวนเงินที่มีผู้สู้ราคาระหว่างการนับนั้นนอกจากเพื่อให้เป็นที่ชัดเจนแก่ผู้เข้าสู้ราคาคนอื่นเพื่อไตร่ตรองก่อนตัดสินใจว่าจะสู้ราคาขึ้นไปอีกหรือไม่แล้วยังมีเจตนารมณ์เพื่อให้โอกาสแก่ผู้เข้าสู้ราคารายอื่นซึ่งมิได้อยู่ร่วมในการประมูลสู้ราคามาแต่ต้นแต่เพิ่งมาถึงได้ทราบราคาที่มีผู้สู้ราคาไว้แล้ว เพื่อจะได้ประกอบการตัดสินใจว่าสมควรสู้ราคาขึ้นไปอีกหรือไม่ เมื่อข้อเท็จจริงได้ความว่าผู้ร้องอยู่ร่วมเข้าสู้ราคามาแต่ต้น ผู้ร้องย่อมทราบดีอยู่แล้วว่าผู้คัดค้านได้เสนอราคามาถึงเท่าใดและอาจตัดสินใจได้ว่าจะสู้ราคาขึ้นไปอีกหรือไม่ ดังนั้นแม้ข้อเท็จจริงจะฟังได้ว่าระหว่างการนับ 1 ถึง 3 แต่ละช่วงเจ้าพนักงานบังคับคดีไม่ได้ขานจำนวนเงินที่มีผู้สู้ราคาครั้งที่หนึ่งและครั้งที่สอง 3-4 คน ตามนัยแห่งระเบียบดังกล่าวก็หามีผลทำให้ผู้ร้องไม่มีโอกาสเสนอราคาเพิ่มสูงขึ้นดังที่ผู้ร้องอ้าง พฤติการณ์ฟังไม่ได้ว่า เจ้าพนักงานบังคับคดีได้ดำเนินการบังคับคดีฝ่าฝืนต่อบทบัญญัติแห่งลักษณะการบังคับคดีตามคำพิพากษาหรือคำสั่งดังที่บัญญัติไว้ในประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 296 วรรคสองที่จะขอให้เพิกถอนการขายทอดตลาดได้
คดีสืบเนื่องมาจากเจ้าพนักงานบังคับคดีทำการยึดที่ดินพร้อมสิ่งปลูกสร้างของจำเลยที่ 1 ออกขายทอดตลาดเพื่อชำระหนี้โจทก์ปรากฏว่าผู้คัดค้านเป็นผู้ซื้อได้ในราคา 3,705,000 บาท
ผู้ร้องยื่นคำร้องว่า เจ้าพนักงานบังคับคดีขายทอดตลาดฝ่าฝืนต่อกฎหมายและวิธีปฏิบัติ โดยได้ขานราคาสูงสุดแล้ว นับหนึ่งถึงสามต่อเนื่องกันไปมิได้ขานราคาสูงสุดระหว่างนับหนึ่งถึงสามและใช้เวลานับไม่ถึง 2 วินาที ทำให้ผู้ร้องไม่มีโอกาสเสนอราคาเพิ่มสูงขึ้น ขอให้มีคำสั่งยกเลิกการขายทอดตลาด และให้ขายทอดตลาดทรัพย์ใหม่
โจทก์และผู้คัดค้านยื่นคำคัดค้าน
ศาลชั้นต้นมีคำสั่งยกคำร้อง
ผู้ร้องอุทธรณ์
ศาลอุทธรณ์ภาค 2 พิพากษายืน
ผู้ร้องฎีกา
ศาลฎีกาวินิจฉัยว่า ข้อเท็จจริงได้ความในเบื้องต้นว่าเจ้าพนักงานบังคับคดีได้ดำเนินการขายทอดตลาดที่ดินพร้อมสิ่งปลูกสร้างของจำเลยที่ 1 เพื่อชำระหนี้โจทก์ เมื่อวันที่26 กรกฎาคม 2533 มีผู้เข้าสูงราคารวม 3 คน คือ ผู้ร้องผู้คัดค้าน และผู้รับมอบอำนาจจากโจทก์ ในที่สุดเจ้าพนักงานบังคับคดีได้ขายทรัพย์ดังกล่าวแก่ผู้คัดค้านตามความเห็นชอบของศาลชั้นต้นในราคา 3,705,000 บาท คดีมีปัญหาตามฎีกาของผู้ร้องว่าเจ้าพนักงานบังคับคดีได้ดำเนินการขายทอดตลาดทรัพย์ดังกล่าวโดยไม่ชอบ อันจะเป็นเหตุให้เพิกถอนการขายทอดตลาดเสียได้หรือไม่ข้อเท็จจริงฟังได้ว่าระหว่างนับ 1 ถึง 3 แต่ละช่วงเจ้าพนักงานบังคับคดีไม่ได้ขานจำนวนเงินที่มีผู้สู้ราคาครั้งที่หนึ่งและครั้งที่สอง 3-4 หน ซึ่งเป็นการไม่ปฏิบัติตามระเบียบกระทรวงยุติธรรมว่าด้วยการบังคับคดีของเจ้าพนักงานบังคับคดี พ.ศ. 2522 ข้อ 83ที่กำหนดไว้ว่า "ตามปกติให้ผู้ขายร้องขานจำนวนเงินที่มีผู้สู้ราคาครั้งที่หนึ่ง 3-4 หน ถ้าไม่มีผู้สู้ราคาสูงขึ้นให้เปลี่ยนร้องขานเป็นครั้งที่สองอีก 3-4 หน เมื่อไม่มีผู้สู้ราคาสูงกว่านั้นและได้ราคาพอสมควรก็ให้ลงคำสามพร้อมกับเคาะไม้ แต่ถ้าก่อนเคาะไม้มีผู้สู้ราคาสูงขึ้นไปอีกก็ให้ร้องขานราคานั้นตั้งต้นใหม่ตามลำดับดังกล่าวแล้ว" การขายทอดตลาดทรัพย์รายนี้จึงไม่ชอบตามระเบียบดังกล่าวข้างต้น แต่ศาลฎีกาเห็นว่าระเบียบข้อนี้ที่กำหนดให้ผู้ขายทอดตลาดร้องขานจำนวนเงินที่มีผู้สู้ราคาระหว่างการนับนั้นนอกจากเพื่อให้เป็นที่ชัดเจนแก่ผู้เข้าสู้ราคาคนอื่นเพื่อไตร่ตรองก่อนตัดสินใจว่าจะสู้ราคาขึ้นไปอีกหรือไม่แล้วย่อมเป็นที่เห็นได้ว่ายังมีเจตนารมณ์เพื่อให้โอกาสแก่ผู้เข้าสู้ราคารายอื่น ซึ่งมิได้อยู่ร่วมในการประมูลสู้ราคามาแต่ต้น แต่เพิ่งมาถึงได้ทราบราคาที่มีผู้สู้ราคาไว้แล้ว เพื่อจะได้ประกอบการตัดสินใจว่าสมควรสู้ราคาขึ้นไปอีกหรือไม่ เมื่อข้อเท็จจริงได้ความว่าผู้ร้องอยู่ร่วมเข้าสู้ราคามาแต่ต้น ผู้ร้องย่อมทราบดีอยู่แล้วว่าผู้คัดค้านได้เสนอสู้ราคามาถึงเท่าใด และอาจตัดสินใจได้ว่าจะสู้ราคาขึ้นไปอีกหรือไม่ ดังนั้น แม้ข้อเท็จจริงจะฟังได้ว่าระหว่างการนับ 1 ถึง 3 แต่ละช่วง เจ้าพนักงานบังคับคดีไม่ได้ขานจำนวนเงินที่มีผู้สู้ราคาครั้งที่หนึ่งและครั้งที่สอง3-4 หน ตามนัยแห่งระเบียบข้อดังกล่าว ก็หามีผลทำให้ผู้ร้องไม่มีโอกาสเสนอราคาเพิ่มสูงขึ้นดังที่ผู้ร้องกล่าวอ้างในคำร้องไม่พฤติการณ์แห่งคดียังฟังไม่ได้ว่าเจ้าพนักงานบังคับคดีได้ดำเนินการบังคับคดีฝ่าฝืนต่อบทบัญญัติแห่งลักษณะการบังคับคดีตามคำพิพากษาหรือคำสั่งดังที่บัญญัติไว้ในประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 296 วรรคสอง ที่ผู้ร้องจะขอให้เพิกถอนการขายทอดตลาดได้ศาลล่างทั้งสองยกคำร้องมาชอบแล้ว ฎีกาของผู้ร้องฟังไม่ขึ้น
พิพากษายืน
ระเบียบกระทรวงยุติธรรมว่าด้วยการบังคับคดีของเจ้าพนักงานบังคับคดี พ.ศ. 2522 ข้อ 83 ที่กำหนดให้ผู้ขายทอดตลาดร้องขานจำนวนเงินที่มีผู้สู้ราคาระหว่างการนับนั้นนอกจากเพื่อให้เป็นที่ชัดเจนแก่ผู้เข้าสู้ราคาคนอื่นเพื่อไตร่ตรองก่อนตัดสินใจว่าจะสู้ราคาขึ้นไปอีกหรือไม่แล้วยังมีเจตนารมณ์เพื่อให้โอกาสแก่ผู้เข้าสู้ราคารายอื่นซึ่งมิได้อยู่ร่วมในการประมูลสู้ราคามาแต่ต้นแต่เพิ่งมาถึงได้ทราบราคาที่มีผู้สู้ราคาไว้แล้ว เพื่อจะได้ประกอบการตัดสินใจว่าสมควรสู้ราคาขึ้นไปอีกหรือไม่ เมื่อข้อเท็จจริงได้ความว่าผู้ร้องอยู่ร่วมเข้าสู้ราคามาแต่ต้น ผู้ร้องย่อมทราบดีอยู่แล้วว่าผู้คัดค้านได้เสนอราคามาถึงเท่าใดและอาจตัดสินใจได้ว่าจะสู้ราคาขึ้นไปอีกหรือไม่ ดังนั้นแม้ข้อเท็จจริงจะฟังได้ว่าระหว่างการนับ 1 ถึง 3 แต่ละช่วงเจ้าพนักงานบังคับคดีไม่ได้ขานจำนวนเงินที่มีผู้สู้ราคาครั้งที่หนึ่งและครั้งที่สอง 3-4 คน ตามนัยแห่งระเบียบดังกล่าวก็หามีผลทำให้ผู้ร้องไม่มีโอกาสเสนอราคาเพิ่มสูงขึ้นดังที่ผู้ร้องอ้าง พฤติการณ์ฟังไม่ได้ว่า เจ้าพนักงานบังคับคดีได้ดำเนินการบังคับคดีฝ่าฝืนต่อบทบัญญัติแห่งลักษณะการบังคับคดีตามคำพิพากษาหรือคำสั่งดังที่บัญญัติไว้ในประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 296 วรรคสองที่จะขอให้เพิกถอนการขายทอดตลาดได้
คดีสืบเนื่องมาจากเจ้าพนักงานบังคับคดีทำการยึดที่ดินพร้อมสิ่งปลูกสร้างของจำเลยที่ 1 ออกขายทอดตลาดเพื่อชำระหนี้โจทก์ปรากฏว่าผู้คัดค้านเป็นผู้ซื้อได้ในราคา 3,705,000 บาท
ผู้ร้องยื่นคำร้องว่า เจ้าพนักงานบังคับคดีขายทอดตลาดฝ่าฝืนต่อกฎหมายและวิธีปฏิบัติ โดยได้ขานราคาสูงสุดแล้ว นับหนึ่งถึงสามต่อเนื่องกันไปมิได้ขานราคาสูงสุดระหว่างนับหนึ่งถึงสามและใช้เวลานับไม่ถึง 2 วินาที ทำให้ผู้ร้องไม่มีโอกาสเสนอราคาเพิ่มสูงขึ้น ขอให้มีคำสั่งยกเลิกการขายทอดตลาด และให้ขายทอดตลาดทรัพย์ใหม่
โจทก์และผู้คัดค้านยื่นคำคัดค้าน
ศาลชั้นต้นมีคำสั่งยกคำร้อง
ผู้ร้องอุทธรณ์
ศาลอุทธรณ์ภาค 2 พิพากษายืน
ผู้ร้องฎีกา
ศาลฎีกาวินิจฉัยว่า ข้อเท็จจริงได้ความในเบื้องต้นว่าเจ้าพนักงานบังคับคดีได้ดำเนินการขายทอดตลาดที่ดินพร้อมสิ่งปลูกสร้างของจำเลยที่ 1 เพื่อชำระหนี้โจทก์ เมื่อวันที่26 กรกฎาคม 2533 มีผู้เข้าสูงราคารวม 3 คน คือ ผู้ร้องผู้คัดค้าน และผู้รับมอบอำนาจจากโจทก์ ในที่สุดเจ้าพนักงานบังคับคดีได้ขายทรัพย์ดังกล่าวแก่ผู้คัดค้านตามความเห็นชอบของศาลชั้นต้นในราคา 3,705,000 บาท คดีมีปัญหาตามฎีกาของผู้ร้องว่าเจ้าพนักงานบังคับคดีได้ดำเนินการขายทอดตลาดทรัพย์ดังกล่าวโดยไม่ชอบ อันจะเป็นเหตุให้เพิกถอนการขายทอดตลาดเสียได้หรือไม่ข้อเท็จจริงฟังได้ว่าระหว่างนับ 1 ถึง 3 แต่ละช่วงเจ้าพนักงานบังคับคดีไม่ได้ขานจำนวนเงินที่มีผู้สู้ราคาครั้งที่หนึ่งและครั้งที่สอง 3-4 หน ซึ่งเป็นการไม่ปฏิบัติตามระเบียบกระทรวงยุติธรรมว่าด้วยการบังคับคดีของเจ้าพนักงานบังคับคดี พ.ศ. 2522 ข้อ 83ที่กำหนดไว้ว่า "ตามปกติให้ผู้ขายร้องขานจำนวนเงินที่มีผู้สู้ราคาครั้งที่หนึ่ง 3-4 หน ถ้าไม่มีผู้สู้ราคาสูงขึ้นให้เปลี่ยนร้องขานเป็นครั้งที่สองอีก 3-4 หน เมื่อไม่มีผู้สู้ราคาสูงกว่านั้นและได้ราคาพอสมควรก็ให้ลงคำสามพร้อมกับเคาะไม้ แต่ถ้าก่อนเคาะไม้มีผู้สู้ราคาสูงขึ้นไปอีกก็ให้ร้องขานราคานั้นตั้งต้นใหม่ตามลำดับดังกล่าวแล้ว" การขายทอดตลาดทรัพย์รายนี้จึงไม่ชอบตามระเบียบดังกล่าวข้างต้น แต่ศาลฎีกาเห็นว่าระเบียบข้อนี้ที่กำหนดให้ผู้ขายทอดตลาดร้องขานจำนวนเงินที่มีผู้สู้ราคาระหว่างการนับนั้นนอกจากเพื่อให้เป็นที่ชัดเจนแก่ผู้เข้าสู้ราคาคนอื่นเพื่อไตร่ตรองก่อนตัดสินใจว่าจะสู้ราคาขึ้นไปอีกหรือไม่แล้วย่อมเป็นที่เห็นได้ว่ายังมีเจตนารมณ์เพื่อให้โอกาสแก่ผู้เข้าสู้ราคารายอื่น ซึ่งมิได้อยู่ร่วมในการประมูลสู้ราคามาแต่ต้น แต่เพิ่งมาถึงได้ทราบราคาที่มีผู้สู้ราคาไว้แล้ว เพื่อจะได้ประกอบการตัดสินใจว่าสมควรสู้ราคาขึ้นไปอีกหรือไม่ เมื่อข้อเท็จจริงได้ความว่าผู้ร้องอยู่ร่วมเข้าสู้ราคามาแต่ต้น ผู้ร้องย่อมทราบดีอยู่แล้วว่าผู้คัดค้านได้เสนอสู้ราคามาถึงเท่าใด และอาจตัดสินใจได้ว่าจะสู้ราคาขึ้นไปอีกหรือไม่ ดังนั้น แม้ข้อเท็จจริงจะฟังได้ว่าระหว่างการนับ 1 ถึง 3 แต่ละช่วง เจ้าพนักงานบังคับคดีไม่ได้ขานจำนวนเงินที่มีผู้สู้ราคาครั้งที่หนึ่งและครั้งที่สอง3-4 หน ตามนัยแห่งระเบียบข้อดังกล่าว ก็หามีผลทำให้ผู้ร้องไม่มีโอกาสเสนอราคาเพิ่มสูงขึ้นดังที่ผู้ร้องกล่าวอ้างในคำร้องไม่พฤติการณ์แห่งคดียังฟังไม่ได้ว่าเจ้าพนักงานบังคับคดีได้ดำเนินการบังคับคดีฝ่าฝืนต่อบทบัญญัติแห่งลักษณะการบังคับคดีตามคำพิพากษาหรือคำสั่งดังที่บัญญัติไว้ในประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 296 วรรคสอง ที่ผู้ร้องจะขอให้เพิกถอนการขายทอดตลาดได้ศาลล่างทั้งสองยกคำร้องมาชอบแล้ว ฎีกาของผู้ร้องฟังไม่ขึ้น
พิพากษายืน
ระเบียบกระทรวงยุติธรรมว่าด้วยการบังคับคดีของเจ้าพนักงาน-บังคับคดี พ.ศ. 2522 ข้อ 83 ที่กำหนดให้ผู้ขายทอดตลาดร้องขานจำนวนเงินที่มีผู้สู้ราคาระหว่างการนับนั้น นอกจากเพื่อให้เป็นที่ชัดเจนแก่ผู้เข้าสู้ราคาคนอื่นเพื่อไตร่ตรองก่อนตัดสินใจว่าจะสู้ราคาขึ้นไปอีกหรือไม่แล้ว ยังมีเจตนารมณ์เพื่อให้โอกาสแก่ผู้เข้าสู้ราคารายอื่น ซึ่งมิได้อยู่ร่วมในการประมูลสู้ราคามาแต่ต้นแต่เพิ่งมาถึงได้ทราบราคาที่มีผู้สู้ราคาไว้แล้ว เพื่อจะได้ประกอบการตัดสินใจว่าสมควรสู้ราคาขึ้นไปอีกหรือไม่ เมื่อข้อเท็จจริงได้ความว่าผู้ร้องอยู่ร่วมเข้าสู้ราคามาแต่ต้น ผู้ร้องย่อมทราบดีอยู่แล้วว่าผู้คัดค้านได้เสนอราคามาถึงเท่าใด และอาจตัดสินใจได้ว่าจะสู้ราคาขึ้นไปอีกหรือไม่ ดังนั้น แม้ข้อเท็จจริงจะฟังได้ว่าระหว่างการนับ 1 ถึง 3 แต่ละช่วงเจ้าพนักงานบังคับคดีไม่ได้ขานจำนวนเงินที่มีผู้สู้ราคาครั้งที่หนึ่งและครั้งที่สอง 3 - 4 หนตามนัยแห่งระเบียบดังกล่าว ก็หามีผลทำให้ผู้ร้องไม่มีโอกาสเสนอราคาเพิ่มสูงขึ้นดังที่ผู้ร้องอ้าง พฤติการณ์ฟังไม่ได้ว่า เจ้าพนักงานบังคับคดีได้ดำเนินการบังคับคดีฝ่าฝืนต่อบทบัญญัติแห่งลักษณะการบังคับคดีตามคำพิพากษาหรือคำสั่งดังที่บัญญัติไว้ใน ป.วิ.พ.มาตรา 296 วรรคสอง ที่จะขอให้เพิกถอนการขายทอดตลาดได้
ระเบียบกระทรวงยุติธรรมว่าด้วยการบังคับคดีของเจ้าพนักงาน-บังคับคดี พ.ศ. 2522 ข้อ 83 ที่กำหนดให้ผู้ขายทอดตลาดร้องขานจำนวนเงินที่มีผู้สู้ราคาระหว่างการนับนั้น นอกจากเพื่อให้เป็นที่ชัดเจนแก่ผู้เข้าสู้ราคาคนอื่นเพื่อไตร่ตรองก่อนตัดสินใจว่าจะสู้ราคาขึ้นไปอีกหรือไม่แล้ว ยังมีเจตนารมณ์เพื่อให้โอกาสแก่ผู้เข้าสู้ราคารายอื่น ซึ่งมิได้อยู่ร่วมในการประมูลสู้ราคามาแต่ต้นแต่เพิ่งมาถึงได้ทราบราคาที่มีผู้สู้ราคาไว้แล้ว เพื่อจะได้ประกอบการตัดสินใจว่าสมควรสู้ราคาขึ้นไปอีกหรือไม่ เมื่อข้อเท็จจริงได้ความว่าผู้ร้องอยู่ร่วมเข้าสู้ราคามาแต่ต้น ผู้ร้องย่อมทราบดีอยู่แล้วว่าผู้คัดค้านได้เสนอราคามาถึงเท่าใด และอาจตัดสินใจได้ว่าจะสู้ราคาขึ้นไปอีกหรือไม่ ดังนั้น แม้ข้อเท็จจริงจะฟังได้ว่าระหว่างการนับ 1 ถึง 3 แต่ละช่วงเจ้าพนักงานบังคับคดีไม่ได้ขานจำนวนเงินที่มีผู้สู้ราคาครั้งที่หนึ่งและครั้งที่สอง 3 - 4 หนตามนัยแห่งระเบียบดังกล่าว ก็หามีผลทำให้ผู้ร้องไม่มีโอกาสเสนอราคาเพิ่มสูงขึ้นดังที่ผู้ร้องอ้าง พฤติการณ์ฟังไม่ได้ว่า เจ้าพนักงานบังคับคดีได้ดำเนินการบังคับคดีฝ่าฝืนต่อบทบัญญัติแห่งลักษณะการบังคับคดีตามคำพิพากษาหรือคำสั่งดังที่บัญญัติไว้ใน ป.วิ.พ.มาตรา 296 วรรคสอง ที่จะขอให้เพิกถอนการขายทอดตลาดได้
ระเบียบกระทรวงยุติธรรมว่าด้วยการบังคับคดีของเจ้าพนักงานบังคับคดี พ.ศ. 2522 ข้อ 68 วรรคแรก ที่กำหนดให้เจ้าพนักงานบังคับคดีจัดการปิดประกาศขายทอดตลาดโดยเปิดเผย ณ สถานที่ที่ทรัพย์จะขายตั้งอยู่ด้วย เป็นข้อกำหนดเพื่อประสงค์ให้บุคคลภายนอกที่สนใจมาประมูลซื้อทรัพย์ในการขายทอดตลาดเท่านั้น ระเบียบดังกล่าวหาได้เป็นกฎหมายไม่ แม้หากจะไม่มีการปฏิบัติตามข้อกำหนดดังกล่าวแต่เมื่อได้ความว่าจำเลยได้ทราบกำหนดวันขายทอดตลาดตามประกาศขายทอดตลาดของเจ้าพนักงานบังคับคดีล่วงหน้าแล้ว ถือได้ว่าเจ้าพนักงานบังคับคดีได้แจ้งวันขายทอดตลาดให้จำเลยทั้งสองซึ่งมีส่วนได้เสียในการบังคับคดีทราบตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 306 แล้ว ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 306,308 หมวดที่ 2ว่าด้วยวิธียึดทรัพย์อายัดทรัพย์และการจ่ายเงินประกอบด้วยประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ส่วนที่ 3 ว่าด้วยการขายทอดตลาดและระเบียบกระทรวงยุติธรรมว่าด้วยการบังคับคดีของเจ้าพนักงานบังคับคดี พ.ศ. 2522 หมวดที่ 8 ว่าด้วยการขายทรัพย์ไม่มีบทบัญญัติหรือข้อกำหนดว่าในการขายทอดตลาด เมื่อผู้ขายทอดตลาดจะแสดงความตกลงด้วยการเคาะไม้ ถ้าผู้มีส่วนได้เสียคัดค้านว่าราคาต่ำไปยังไม่สมควรแสดงความตกลงขาย ผู้ขายทอดตลาดจะต้องได้รับอนุญาตจากศาลก่อนหรือต้องรอให้ศาลวินิจฉัยข้อคัดค้านนั้นเสียก่อนดังนั้น แม้ไม่มีการดำเนินการดังกล่าวก็หาทำให้การขายทอดตลาดนั้นไม่ชอบด้วยกฎหมายแต่อย่างใด
คดีสืบเนื่องจากศาลชั้นต้นพิพากษาให้จำเลยทั้งสองร่วมกันชำระเงินจำนวน 466,080.31 บาท พร้อมด้วยดอกเบี้ยแก่โจทก์ หากไม่ชำระให้ยึดทรัพย์จำนองที่ดินโฉนดเลขที่ 132367 ตำบลสามเสนนอก(สามเสนนอกฝั่งเหนือ) อำเภอห้วยขวาง (บางซื่อ) กรุงเทพมหานครพร้อมสิ่งปลูกสร้างขายทอดตลาดนำเงินมาชำระหนี้โจทก์ จำเลยทั้งสองไม่ปฏิบัติตามคำพิพากษา โจทก์ขอหมายบังคับคดีนำเจ้าพนักงานบังคับคดียึดทรัพย์จำนองดังกล่าวและขายทอดตลาดไปในราคา 770,000 บาท
จำเลยที่ 1 ที่ 2 ยื่นคำร้องว่า เจ้าพนักงานบังคับคดีไม่ได้ปิดประกาศการขายทอดตลาด ณ สถานที่ที่ทรัพย์ตั้งอยู่ ขายทอดตลาดไปโดยไม่ขออนุญาตจากศาลกับผู้อำนวยการกองและขายทรัพย์ไปในราคาต่ำเป็นการฝ่าฝืนกฎระเบียบขอให้มีคำสั่งเพิกถอนขายทอดตลาด
โจทก์และผู้ซื้อทรัพย์แถลงคัดค้านว่า เจ้าพนักงานบังคับคดีขายทอดตลาดโดยชอบแล้ว ขอให้ยกคำร้อง
ศาลชั้นต้นพิจารณาแล้ว มีคำสั่งยกคำร้อง
จำเลยทั้งสองอุทธรณ์
ศาลอุทธรณ์พิพากษายืน
จำเลยที่ 1 ที่ 2 ฎีกา
ศาลฎีกาวินิจฉัยว่า "จำเลยที่ 1 ที่ 2 ฎีกาประการแรกว่าเจ้าพนักงานบังคับคดีมิได้ปิดประกาศขายทอดตลาด ณ สถานที่ที่ทรัพย์ตั้งอยู่ เป็นการฝ่าฝืนระเบียบกระทรวงยุติธรรมว่าด้วยการบังคับคดี ฯลฯ ในข้อนี้โจทก์มีสำเนารายงานการเดินหมายลงวันที่16 กุมภาพันธ์ 2533 ตามเอกสารหมาย ร.ค.1 เป็นหลักฐานแสดงว่าพนักงานเดินหมายได้นำประกาศขายทอดตลาดทรัพย์ไปปิดไว้ที่ประตูบ้านเลขที่ 502/64 ถนนประชาราษฎร์บำเพ็ญ แขวงสามเสนนอกเขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร ซึ่งเป็นที่อยู่ของจำเลยที่ 1 ที่ 2และเป็นสถานที่ที่ทรัพย์ตั้งอยู่แล้วโดยมีนายนิพนธ์ บุษบงผู้อำนวยการกองบังคับคดีแพ่ง 2 กรมบังคับคดี มาเบิกความรับรองแต่จำเลยที่ 1 ที่ 2 ก็ได้เบิกความปฏิเสธว่าพนักงานเดินหมายไม่ได้ปฏิบัติดังกล่าวและจำเลยไม่เคยเห็นประกาศขายทอดตลาดของเจ้าพนักงานบังคับคดี ศาลฎีกาเห็นว่า ระเบียบกระทรวงยุติธรรมว่าด้วยการบังคับคดีของเจ้าพนักงานบังคับคดี พ.ศ. 2522 ข้อ 68 วรรคแรกกำหนดให้เจ้าพนักงานบังคับคดีจัดการปิดประกาศขายทอดตลาดโดยเปิดเผยณ สถานที่ที่ทรัพย์ที่จะขายตั้งอยู่ด้วย ซึ่งเป็นข้อกำหนดเพื่อประสงค์ให้บุคคลภายนอกที่สนใจมาประมูลซื้อทรัพย์ในการขายทอดตลาดเท่านั้น ระเบียบดังกล่าวหาได้เป็นกฎหมายไม่ แม้จะรับฟังตามข้ออ้างของจำเลยดังกล่าว แต่จำเลยที่ 2 ก็ได้เบิกความตอบทนายโจทก์ถามค้านว่า จำเลยที่ 2 ได้ทราบว่าจะมีการขายทอดตลาดคดีนี้ตอนปลายเดือนกุมภาพันธ์ 2533 แสดงว่าจำเลยได้ทราบกำหนดวันขายทอดตลาดตามประกาศขายทอดตลาดของเจ้าพนักงานบังคับคดีล่วงหน้าแล้วถือได้ว่าเจ้าพนักงานบังคับคดีได้แจ้งวันขายทอดตลาดให้จำเลยที่ 1ที่ 2 ซึ่งมีส่วนได้เสียในการบังคับคดีทราบตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 306 แล้ว ฎีกาจำเลยที่ 1 ที่ 2 ข้อนี้ฟังไม่ขึ้น
จำเลยที่ 1 ที่ 2 ฎีกาประการที่สองว่า เจ้าพนักงานบังคับคดีผู้ขายทอดตลาดได้เคาะไม้ 3 ที แสดงความตกลง โดยไม่ได้ขออนุญาตจากศาลก่อนเป็นการไม่ชอบด้วยกฎหมาย ในข้อนี้จำเลยที่ 1ยื่นคำร้องและนำสืบว่าในขณะที่เจ้าพนักงานบังคับคดีผู้ขายทอดตลาดเคาะไม้ครั้งที่สอง จำเลยได้คัดค้านว่ายังไม่สมควรที่จะขายในราคา770,000 บาท เพราะต่ำไปเนื่องจากที่ดินและสิ่งปลูกสร้างของจำเลยมีราคาถึง 1 ล้านบาทเศษ แต่เจ้าพนักงานบังคับคดีไม่รับฟังกลับเคาะไม้ครั้งที่สามแสดงความตกลงโดยพละการ ไม่ขออนุญาตศาลหรือผู้มีอำนาจเสียก่อนเป็นการไม่ชอบด้วยกฎหมายนั้น ศาลฎีกาเห็นว่าประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 306, 308 ในหมวดที่ 2 ว่าด้วยวิธียึดทรัพย์ อายัดทรัพย์และการจ่ายเงิน ประกอบด้วยประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ส่วนที่ 3 ว่าด้วยการขายทอดตลาดและระเบียบกระทรวงยุติธรรมว่าด้วยการบังคับคดีของเจ้าพนักงานบังคับคดี พ.ศ. 2522 หมวดที่ 8 ว่าด้วยการขายทรัพย์ มิได้มีบทบัญญัติหรือข้อกำหนดว่าในการขายทอดตลาด เมื่อผู้ขายทอดตลาดจะแสดงความตกลงด้วยการเคาะไม้ ถ้ามีผู้มีส่วนได้เสียคัดค้านว่าราคาต่ำไปยังไม่สมควรแสดงความตกลงขาย ผู้ขายทอดตลาดจะต้องได้รับอนุญาตจากศาลก่อน หรือต้องรอให้ศาลวินิจฉัยข้อคัดค้านนั้นเสียก่อนดังที่จำเลยอ้าง ประกอบกับการขายทอดตลาดคดีนี้ได้ความจากนายนิพนธ์ บุษบง ว่า ได้รับอนุญาตให้ขายจากนายไกรสร บารมีอวยชัยผู้ช่วยอธิบดีกรมบังคับคดี ซึ่งเป็นผู้บังคับบัญชาแล้วตามเอกสารหมายร.ค.3 จึงฟังไม่ได้ว่าเจ้าพนักงานบังคับคดีเคาะไม้แสดงความตกลงโดยพละการ การขายทอดตลาดจึงบริบูรณ์ชอบด้วยกฎหมายแล้วฎีกาจำเลยที่ 1 ที่ 2 ข้อนี้ฟังไม่ขึ้น ที่ศาลอุทธรณ์พิพากษายืนตามคำสั่งศาลชั้นต้นให้ยกคำร้องของจำเลยที่ 1 ที่ 2 มานั้นศาลฎีกาเห็นพ้องด้วย ฎีกาจำเลยที่ 1 ที่ 2 ฟังไม่ขึ้น"
พิพากษายืน
ระเบียบกระทรวงยุติธรรมว่าด้วยการบังคับคดีของเจ้าพนักงานบังคับคดี พ.ศ. 2522 ข้อ 68 วรรคแรก ที่กำหนดให้เจ้าพนักงานบังคับคดีจัดการปิดประกาศขายทอดตลาดโดยเปิดเผย ณ สถานที่ที่ทรัพย์จะขายตั้งอยู่ด้วย เป็นข้อกำหนดเพื่อประสงค์ให้บุคคลภายนอกที่สนใจมาประมูลซื้อทรัพย์ในการขายทอดตลาดเท่านั้น ระเบียบดังกล่าวหาได้เป็นกฎหมายไม่ แม้หากจะไม่มีการปฏิบัติตามข้อกำหนดดังกล่าวแต่เมื่อได้ความว่าจำเลยได้ทราบกำหนดวันขายทอดตลาดตามประกาศขายทอดตลาดของเจ้าพนักงานบังคับคดีล่วงหน้าแล้ว ถือได้ว่าเจ้าพนักงานบังคับคดีได้แจ้งวันขายทอดตลาดให้จำเลยทั้งสองซึ่งมีส่วนได้เสียในการบังคับคดีทราบตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 306 แล้ว ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 306,308 หมวดที่ 2ว่าด้วยวิธียึดทรัพย์อายัดทรัพย์และการจ่ายเงินประกอบด้วยประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ส่วนที่ 3 ว่าด้วยการขายทอดตลาดและระเบียบกระทรวงยุติธรรมว่าด้วยการบังคับคดีของเจ้าพนักงานบังคับคดี พ.ศ. 2522 หมวดที่ 8 ว่าด้วยการขายทรัพย์ไม่มีบทบัญญัติหรือข้อกำหนดว่าในการขายทอดตลาด เมื่อผู้ขายทอดตลาดจะแสดงความตกลงด้วยการเคาะไม้ ถ้าผู้มีส่วนได้เสียคัดค้านว่าราคาต่ำไปยังไม่สมควรแสดงความตกลงขาย ผู้ขายทอดตลาดจะต้องได้รับอนุญาตจากศาลก่อนหรือต้องรอให้ศาลวินิจฉัยข้อคัดค้านนั้นเสียก่อนดังนั้น แม้ไม่มีการดำเนินการดังกล่าวก็หาทำให้การขายทอดตลาดนั้นไม่ชอบด้วยกฎหมายแต่อย่างใด
คดีสืบเนื่องจากศาลชั้นต้นพิพากษาให้จำเลยทั้งสองร่วมกันชำระเงินจำนวน 466,080.31 บาท พร้อมด้วยดอกเบี้ยแก่โจทก์ หากไม่ชำระให้ยึดทรัพย์จำนองที่ดินโฉนดเลขที่ 132367 ตำบลสามเสนนอก(สามเสนนอกฝั่งเหนือ) อำเภอห้วยขวาง (บางซื่อ) กรุงเทพมหานครพร้อมสิ่งปลูกสร้างขายทอดตลาดนำเงินมาชำระหนี้โจทก์ จำเลยทั้งสองไม่ปฏิบัติตามคำพิพากษา โจทก์ขอหมายบังคับคดีนำเจ้าพนักงานบังคับคดียึดทรัพย์จำนองดังกล่าวและขายทอดตลาดไปในราคา 770,000 บาท
จำเลยที่ 1 ที่ 2 ยื่นคำร้องว่า เจ้าพนักงานบังคับคดีไม่ได้ปิดประกาศการขายทอดตลาด ณ สถานที่ที่ทรัพย์ตั้งอยู่ ขายทอดตลาดไปโดยไม่ขออนุญาตจากศาลกับผู้อำนวยการกองและขายทรัพย์ไปในราคาต่ำเป็นการฝ่าฝืนกฎระเบียบขอให้มีคำสั่งเพิกถอนขายทอดตลาด
โจทก์และผู้ซื้อทรัพย์แถลงคัดค้านว่า เจ้าพนักงานบังคับคดีขายทอดตลาดโดยชอบแล้ว ขอให้ยกคำร้อง
ศาลชั้นต้นพิจารณาแล้ว มีคำสั่งยกคำร้อง
จำเลยทั้งสองอุทธรณ์
ศาลอุทธรณ์พิพากษายืน
จำเลยที่ 1 ที่ 2 ฎีกา
ศาลฎีกาวินิจฉัยว่า "จำเลยที่ 1 ที่ 2 ฎีกาประการแรกว่าเจ้าพนักงานบังคับคดีมิได้ปิดประกาศขายทอดตลาด ณ สถานที่ที่ทรัพย์ตั้งอยู่ เป็นการฝ่าฝืนระเบียบกระทรวงยุติธรรมว่าด้วยการบังคับคดี ฯลฯ ในข้อนี้โจทก์มีสำเนารายงานการเดินหมายลงวันที่16 กุมภาพันธ์ 2533 ตามเอกสารหมาย ร.ค.1 เป็นหลักฐานแสดงว่าพนักงานเดินหมายได้นำประกาศขายทอดตลาดทรัพย์ไปปิดไว้ที่ประตูบ้านเลขที่ 502/64 ถนนประชาราษฎร์บำเพ็ญ แขวงสามเสนนอกเขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร ซึ่งเป็นที่อยู่ของจำเลยที่ 1 ที่ 2และเป็นสถานที่ที่ทรัพย์ตั้งอยู่แล้วโดยมีนายนิพนธ์ บุษบงผู้อำนวยการกองบังคับคดีแพ่ง 2 กรมบังคับคดี มาเบิกความรับรองแต่จำเลยที่ 1 ที่ 2 ก็ได้เบิกความปฏิเสธว่าพนักงานเดินหมายไม่ได้ปฏิบัติดังกล่าวและจำเลยไม่เคยเห็นประกาศขายทอดตลาดของเจ้าพนักงานบังคับคดี ศาลฎีกาเห็นว่า ระเบียบกระทรวงยุติธรรมว่าด้วยการบังคับคดีของเจ้าพนักงานบังคับคดี พ.ศ. 2522 ข้อ 68 วรรคแรกกำหนดให้เจ้าพนักงานบังคับคดีจัดการปิดประกาศขายทอดตลาดโดยเปิดเผยณ สถานที่ที่ทรัพย์ที่จะขายตั้งอยู่ด้วย ซึ่งเป็นข้อกำหนดเพื่อประสงค์ให้บุคคลภายนอกที่สนใจมาประมูลซื้อทรัพย์ในการขายทอดตลาดเท่านั้น ระเบียบดังกล่าวหาได้เป็นกฎหมายไม่ แม้จะรับฟังตามข้ออ้างของจำเลยดังกล่าว แต่จำเลยที่ 2 ก็ได้เบิกความตอบทนายโจทก์ถามค้านว่า จำเลยที่ 2 ได้ทราบว่าจะมีการขายทอดตลาดคดีนี้ตอนปลายเดือนกุมภาพันธ์ 2533 แสดงว่าจำเลยได้ทราบกำหนดวันขายทอดตลาดตามประกาศขายทอดตลาดของเจ้าพนักงานบังคับคดีล่วงหน้าแล้วถือได้ว่าเจ้าพนักงานบังคับคดีได้แจ้งวันขายทอดตลาดให้จำเลยที่ 1ที่ 2 ซึ่งมีส่วนได้เสียในการบังคับคดีทราบตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 306 แล้ว ฎีกาจำเลยที่ 1 ที่ 2 ข้อนี้ฟังไม่ขึ้น
จำเลยที่ 1 ที่ 2 ฎีกาประการที่สองว่า เจ้าพนักงานบังคับคดีผู้ขายทอดตลาดได้เคาะไม้ 3 ที แสดงความตกลง โดยไม่ได้ขออนุญาตจากศาลก่อนเป็นการไม่ชอบด้วยกฎหมาย ในข้อนี้จำเลยที่ 1ยื่นคำร้องและนำสืบว่าในขณะที่เจ้าพนักงานบังคับคดีผู้ขายทอดตลาดเคาะไม้ครั้งที่สอง จำเลยได้คัดค้านว่ายังไม่สมควรที่จะขายในราคา770,000 บาท เพราะต่ำไปเนื่องจากที่ดินและสิ่งปลูกสร้างของจำเลยมีราคาถึง 1 ล้านบาทเศษ แต่เจ้าพนักงานบังคับคดีไม่รับฟังกลับเคาะไม้ครั้งที่สามแสดงความตกลงโดยพละการ ไม่ขออนุญาตศาลหรือผู้มีอำนาจเสียก่อนเป็นการไม่ชอบด้วยกฎหมายนั้น ศาลฎีกาเห็นว่าประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 306, 308 ในหมวดที่ 2 ว่าด้วยวิธียึดทรัพย์ อายัดทรัพย์และการจ่ายเงิน ประกอบด้วยประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ส่วนที่ 3 ว่าด้วยการขายทอดตลาดและระเบียบกระทรวงยุติธรรมว่าด้วยการบังคับคดีของเจ้าพนักงานบังคับคดี พ.ศ. 2522 หมวดที่ 8 ว่าด้วยการขายทรัพย์ มิได้มีบทบัญญัติหรือข้อกำหนดว่าในการขายทอดตลาด เมื่อผู้ขายทอดตลาดจะแสดงความตกลงด้วยการเคาะไม้ ถ้ามีผู้มีส่วนได้เสียคัดค้านว่าราคาต่ำไปยังไม่สมควรแสดงความตกลงขาย ผู้ขายทอดตลาดจะต้องได้รับอนุญาตจากศาลก่อน หรือต้องรอให้ศาลวินิจฉัยข้อคัดค้านนั้นเสียก่อนดังที่จำเลยอ้าง ประกอบกับการขายทอดตลาดคดีนี้ได้ความจากนายนิพนธ์ บุษบง ว่า ได้รับอนุญาตให้ขายจากนายไกรสร บารมีอวยชัยผู้ช่วยอธิบดีกรมบังคับคดี ซึ่งเป็นผู้บังคับบัญชาแล้วตามเอกสารหมายร.ค.3 จึงฟังไม่ได้ว่าเจ้าพนักงานบังคับคดีเคาะไม้แสดงความตกลงโดยพละการ การขายทอดตลาดจึงบริบูรณ์ชอบด้วยกฎหมายแล้วฎีกาจำเลยที่ 1 ที่ 2 ข้อนี้ฟังไม่ขึ้น ที่ศาลอุทธรณ์พิพากษายืนตามคำสั่งศาลชั้นต้นให้ยกคำร้องของจำเลยที่ 1 ที่ 2 มานั้นศาลฎีกาเห็นพ้องด้วย ฎีกาจำเลยที่ 1 ที่ 2 ฟังไม่ขึ้น"
พิพากษายืน
ศาลบังคับให้จำเลยส่งมอบโฉนดที่ดินให้แก่โจทก์ มิใช่เป็นการบังคับยึดทรัพย์สินของจำเลยมาขายทอดตลาดหรือจำหน่ายทรัพย์สินของจำเลยโดยวิธีอื่น แต่ในคำร้องของจำเลยปรากฎว่าคดีที่จำเลยฟ้องโจทก์เป็นเรื่องขอให้โจทก์ชำระหนี้เงินวัตถุแห่งหนี้จึงเป็นคนละอย่างต่างกัน ไม่อาจที่จะหักกลบหนี้กันได้ กรณีไม่ต้องด้วยบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 293 วรรคแรกจำเลยจึงไม่มีสิทธิขอให้งดการบังคับคดีไว้ก่อน
คดีนี้สืบเนื่องมาจากศาลชั้นต้นพิพากษาบังคับให้จำเลยคืนโฉนดที่ดินให้แก่โจทก์ คดีถึงที่สุด ศาลชั้นต้นจึงได้ออกคำบังคับ จำเลยยื่นคำร้องต่อศาลชั้นต้นว่าจำเลยได้ยื่นฟ้องโจทก์เรียกเงินคืนจากโจทก์ฐานลาภมิควรได้ หากศาลพิพากษาให้จำเลยชนะคดี จำเลยอาจไม่ต้องส่งมอบโฉนดที่ดินให้แก่โจทก์ เพราะสามารถยึดมาหักกลบลบหนี้ได้ ขอให้ศาลชั้นต้นงดการบังคับคดีไว้ก่อน
ศาลชั้นต้นมีคำสั่งว่า คดีนี้ศาลได้มีคำพิพากษาถึงที่สุดแล้วทั้งกรณีไม่มีเหตุที่จะงดการบังคับจึงไม่อนุญาต ให้ยกคำร้อง
จำเลยอุทธรณ์
ศาลอุทธรณ์พิพากษายืน
จำเลยฎีกา
ศาลฎีกาวินิจฉัยว่า มีปัญหาต้องวินิจฉัยตามฎีกาจำเลยว่าจำเลยมีสิทธิขอให้งดการบังคับคดีไว้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 293 หรือไม่ พิเคราะห์แล้ว ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 293 วรรคแรกบัญญัติว่า "ลูกหนี้ตามคำพิพากษาอาจยื่นคำขอทำเป็นคำร้องต่อศาลให้งดการบังคับคดีไว้ โดยเหตุที่ตนได้ยื่นฟ้องเจ้าหนี้ตามคำพิพากษาเป็นคดีเรื่องอื่นในศาลเดียวกันนั้น ซึ่งศาลยังมิได้วินิจฉัยชี้ขาด และถ้าหากตนเป็นฝ่ายชนะจะไม่ต้องมีการขายทอดตลาดหรือจำหน่ายหรือทรัพย์สินของตนโดยวิธีอื่นเพราะสามารถจะหักกลบลบหนี้กันได้" เห็นว่า คดีนี้ศาลบังคับให้จำเลยส่งมอบโฉนดที่ดินให้แก่โจทก์ มิใช่เป็นการบังคับยึดทรัพย์สินของจำเลยมาขายทอดตลาดหรือจำหน่ายทรัพย์สินของจำเลยโดยวิธีอื่นแต่ในคำร้องของจำเลยปรากฎว่า คดีที่จำเลยฟ้องโจทก์เป็นเรื่องขอให้โจทก์ชำระหนี้เงิน วัตถุแห่งหนี้จึงเป็นคนละอย่างต่างกันไม่อาจที่จะหักกลบลบหนี้กันได้ กรณีไม่ต้องด้วยบทบัญญัติดังกล่าวมาจำเลยจึงไม่มีสิทธิขอให้งดการบังคับคดีไว้ก่อน เมื่อวินิจฉัยเช่นนี้แล้ว ไม่จำต้องวินิจฉัยฎีกาข้ออื่นของจำเลยอีก
พิพากษายืน
ศาลบังคับให้จำเลยส่งมอบโฉนดที่ดินให้แก่โจทก์ มิใช่เป็นการบังคับยึดทรัพย์สินของจำเลยมาขายทอดตลาดหรือจำหน่ายทรัพย์สินของจำเลยโดยวิธีอื่น แต่ในคำร้องของจำเลยปรากฎว่าคดีที่จำเลยฟ้องโจทก์เป็นเรื่องขอให้โจทก์ชำระหนี้เงินวัตถุแห่งหนี้จึงเป็นคนละอย่างต่างกัน ไม่อาจที่จะหักกลบหนี้กันได้ กรณีไม่ต้องด้วยบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 293 วรรคแรกจำเลยจึงไม่มีสิทธิขอให้งดการบังคับคดีไว้ก่อน
คดีนี้สืบเนื่องมาจากศาลชั้นต้นพิพากษาบังคับให้จำเลยคืนโฉนดที่ดินให้แก่โจทก์ คดีถึงที่สุด ศาลชั้นต้นจึงได้ออกคำบังคับ จำเลยยื่นคำร้องต่อศาลชั้นต้นว่าจำเลยได้ยื่นฟ้องโจทก์เรียกเงินคืนจากโจทก์ฐานลาภมิควรได้ หากศาลพิพากษาให้จำเลยชนะคดี จำเลยอาจไม่ต้องส่งมอบโฉนดที่ดินให้แก่โจทก์ เพราะสามารถยึดมาหักกลบลบหนี้ได้ ขอให้ศาลชั้นต้นงดการบังคับคดีไว้ก่อน
ศาลชั้นต้นมีคำสั่งว่า คดีนี้ศาลได้มีคำพิพากษาถึงที่สุดแล้วทั้งกรณีไม่มีเหตุที่จะงดการบังคับจึงไม่อนุญาต ให้ยกคำร้อง
จำเลยอุทธรณ์
ศาลอุทธรณ์พิพากษายืน
จำเลยฎีกา
ศาลฎีกาวินิจฉัยว่า มีปัญหาต้องวินิจฉัยตามฎีกาจำเลยว่าจำเลยมีสิทธิขอให้งดการบังคับคดีไว้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 293 หรือไม่ พิเคราะห์แล้ว ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 293 วรรคแรกบัญญัติว่า "ลูกหนี้ตามคำพิพากษาอาจยื่นคำขอทำเป็นคำร้องต่อศาลให้งดการบังคับคดีไว้ โดยเหตุที่ตนได้ยื่นฟ้องเจ้าหนี้ตามคำพิพากษาเป็นคดีเรื่องอื่นในศาลเดียวกันนั้น ซึ่งศาลยังมิได้วินิจฉัยชี้ขาด และถ้าหากตนเป็นฝ่ายชนะจะไม่ต้องมีการขายทอดตลาดหรือจำหน่ายหรือทรัพย์สินของตนโดยวิธีอื่นเพราะสามารถจะหักกลบลบหนี้กันได้" เห็นว่า คดีนี้ศาลบังคับให้จำเลยส่งมอบโฉนดที่ดินให้แก่โจทก์ มิใช่เป็นการบังคับยึดทรัพย์สินของจำเลยมาขายทอดตลาดหรือจำหน่ายทรัพย์สินของจำเลยโดยวิธีอื่นแต่ในคำร้องของจำเลยปรากฎว่า คดีที่จำเลยฟ้องโจทก์เป็นเรื่องขอให้โจทก์ชำระหนี้เงิน วัตถุแห่งหนี้จึงเป็นคนละอย่างต่างกันไม่อาจที่จะหักกลบลบหนี้กันได้ กรณีไม่ต้องด้วยบทบัญญัติดังกล่าวมาจำเลยจึงไม่มีสิทธิขอให้งดการบังคับคดีไว้ก่อน เมื่อวินิจฉัยเช่นนี้แล้ว ไม่จำต้องวินิจฉัยฎีกาข้ออื่นของจำเลยอีก
พิพากษายืน
ศาลบังคับให้จำเลยส่งมอบโฉนดที่ดินให้แก่โจทก์ มิใช่เป็นการบังคับยึดทรัพย์สินของจำเลยมาขายทอดตลาดหรือจำหน่ายทรัพย์สินของจำเลยโดยวิธีอื่นแต่ในคำร้องของจำเลยปรากฏว่าคดีที่จำเลยฟ้องโจทก์เป็นเรื่องขอให้โจทก์ชำระหนี้เงินวัตถุแห่งหนี้จึงเป็นคนละอย่างต่างกัน ไม่อาจที่จะหักกลบลบหนี้กันได้ กรณีไม่ต้องด้วยบทบัญญัติแห่ง ป.วิ.พ. มาตรา 293 วรรคแรก จำเลยจึงไม่มีสิทธิขอให้งดการบังคับคดีไว้ก่อน
ศาลบังคับให้จำเลยส่งมอบโฉนดที่ดินให้แก่โจทก์ มิใช่เป็นการบังคับยึดทรัพย์สินของจำเลยมาขายทอดตลาดหรือจำหน่ายทรัพย์สินของจำเลยโดยวิธีอื่นแต่ในคำร้องของจำเลยปรากฏว่าคดีที่จำเลยฟ้องโจทก์เป็นเรื่องขอให้โจทก์ชำระหนี้เงินวัตถุแห่งหนี้จึงเป็นคนละอย่างต่างกัน ไม่อาจที่จะหักกลบลบหนี้กันได้ กรณีไม่ต้องด้วยบทบัญญัติแห่ง ป.วิ.พ. มาตรา 293 วรรคแรก จำเลยจึงไม่มีสิทธิขอให้งดการบังคับคดีไว้ก่อน
แม้หนังสือสัญญาจำนองและข้อตกลงต่อท้ายสัญญาจำนองกำหนดให้ผู้ร้องคิดดอกเบี้ยได้ในอัตราร้อยละ 18.5 ต่อปีและทรัพย์สินซึ่งจำนองย่อมเป็นประกันเพื่อการชำระหนี้กับทั้งค่าอุปกรณ์คือดอกเบี้ยตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 715(1) ก็ตามแต่ตามคำร้องของผู้ร้อง ผู้ร้องยื่นคำร้องขอรับชำระหนี้จำนองโดยยังมิได้เป็นเจ้าหนี้ตามคำพิพากษา เพียงแต่ขอรับชำระหนี้จนถึงวันที่ 21 มีนาคม 2532 โดยมิได้คำนวณดอกเบี้ยนับแต่วันที่ 21 มีนาคม 2532 จนถึงวันยื่นคำร้องขอรับชำระหนี้จำนอง(วันที่ 27 มีนาคม 2532) และไม่ได้เรียกดอกเบี้ยนับแต่วันยื่นคำร้องจนถึงวันขายทอดตลาดมาด้วย ในเรื่องดอกเบี้ยจะเห็นได้ว่าผู้ร้องมิได้มีคำขอมาในคำร้องแต่อย่างใด ศาลจึงมิอาจมีคำสั่งให้สิ่งใด ๆ เกินไปกว่าหรือนอกจากที่ปรากฏในคำร้องเพราะต้องห้ามตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 142 วรรคแรก
กรณีสืบเนื่องมาจากโจทก์ฟ้องขอให้บังคับจำเลยชำระหนี้ตามสัญญากู้พร้อมดอกเบี้ย แต่จำเลยไม่ชำระหนี้ตามคำพิพากษาโจทก์จึงบังคับคดีนำยึดที่ดินตามหนังสือรับรองการทำประโยชน์(น.ส.3 ก.) ซึ่งมีชื่อจำเลยเป็นผู้ถือสิทธิครอบครอง เพื่อขายทอดตลาดนำเงินมาชำระหนี้ตามคำพิพากษา
ผู้ร้องยื่นคำร้องลงวันที่ 27 มีนาคม 2532 ว่า ที่ดินที่โจทก์นำเจ้าพนักงานบังคับคดียึดไว้นั้น จำเลยได้จดทะเบียนจำนองเพื่อประกันการที่ผู้ร้องรับรองตั๋วแลกเงินแก่บริษัทจุรีชัย จำกัด และเพียงวันที่ 21 มีนาคม 2532 บริษัทจุรีชัยจำกัด เป็นหนี้ผู้ร้องตามสัญญาจำนองเป็นเงิน 396,026.13 บาทดังนั้นเมื่อเจ้าพนักงานบังคับคดีขายทอดตลาดที่ดินแปลงดังกล่าวแล้ว ผู้ร้องขอรับชำระหนี้ในฐานะเจ้าหนี้บุริมสิทธิต่อไป
โจทก์ไม่คัดค้านคำร้อง
จำเลยได้รับสำเนาคำร้องแล้ว แต่มิได้ยื่นคำคัดค้าน
ศาลชั้นต้นมีคำสั่งอนุญาตให้ผู้ร้องได้รับชำระหนี้จำนองก่อนเจ้าหนี้อื่น
ต่อมาผู้ร้องยื่นคำร้องว่า เจ้าพนักงานบังคับคดีขายทอดตลาดที่ดินของจำเลยเมื่อวันที่ 13 พฤษภาคม 2534 เจ้าพนักงานบังคับคดีทำบัญชีแสดงรายการรับจ่ายเงินสิ้นสุดเพียงวันที่ 13 พฤษภาคม 2534ให้จ่ายเงินชำระหนี้จำนองแก่ผู้ร้อง 396,026.13 บาท โดยไม่ได้คิดดอกเบี้ยนับจากวันที่ 21 มีนาคม 2532 ถึงวันที่ 13 พฤษภาคม 2534ให้แก่ผู้ร้อง จึงขอให้มีคำสั่งให้เจ้าพนักงานบังคับคดีทำบัญชีแสดงรายการรับจ่ายเงินเสียใหม่ โดยคิดดอกเบี้ยให้ผู้ร้องถึงวันขายทอดตลาดทรัพย์
โจทก์ยื่นคำคัดค้านว่า ผู้ร้องขอรับชำระหนี้จำนองโดยมิได้ขอรับชำระดอกเบี้ยต่อจากวันที่ 21 มีนาคม 2532 ขอให้ยกคำร้อง
ศาลชั้นต้นพิจารณาแล้วให้ยกคำร้องของผู้ร้อง
ผู้ร้องอุทธรณ์
ศาลอุทธรณ์ภาค 1 พิพากษายืน
ผู้ร้องฎีกา
ศาลฎีกาวินิจฉัยว่า แม้หนังสือสัญญาจำนองและข้อตกลงต่อท้ายสัญญาจำนองจะกำหนดให้ผู้ร้องคิดดอกเบี้ยได้ในอัตราร้อยละ 18.5 ต่อปี และทรัพย์สินซึ่งจำนองย่อมเป็นประกันเพื่อการชำระหนี้กับทั้งค่าอุปกรณ์คือดอกเบี้ยตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 715(1) ก็ตาม แต่ตามคำร้องของผู้ร้องผู้ร้องยื่นคำร้องขอรับชำระหนี้จำนองโดยผู้ร้องยังมิได้เป็นเจ้าหนี้ตามคำพิพากษาเพียงแต่บรรยายมาในคำร้องว่าจำเลยนำที่ดินมาจดจำนองเพื่อเป็นการค้ำประกันการรับรองตั๋วแลกเงินของผู้ร้องที่รับรองแก่บริษัทจุรีชัย จำกัด และเพียงสิ้นวันที่ 21 มีนาคม 2532 บริษัทจุรีชัย จำกัด เป็นหนี้ผู้ร้องตามสัญญาจำนองอยู่ทั้งสิ้น 396,026.13 บาท ขอรับชำระหนี้ในฐานะเจ้าหนี้บุริมสิทธิ์เท่านั้น โดยผู้ร้องมิได้คำนวณดอกเบี้ยนับแต่วันที่ 21 มีนาคม 2532 จนถึงวันยื่นคำร้องขอรับชำระหนี้จำนอง (วันที่ 27 มีนาคม 2532) และไม่ได้เรียกดอกเบี้ยนับแต่วันยื่นคำร้องจนถึงวันขายทอดตลาดมาด้วย ดังนั้น ในเรื่องดอกเบี้ยจะเห็นได้ว่าผู้ร้องมิได้มีคำขอมาในคำร้องแต่อย่างใดศาลจึงไม่อาจมีคำสั่งให้สิ่งใด ๆ เกินไปกว่าหรือนอกจากที่ปรากฏในคำร้อง เพราะต้องห้ามตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 142 วรรคแรก ที่ศาลชั้นต้นมีคำสั่งอนุญาตให้ผู้ร้องได้รับชำระหนี้จำนองก่อนเจ้าหนี้อื่นมีความหมายเพียงว่าให้ผู้ร้องได้รับชำระหนี้จำนองตามที่ผู้ร้องขอมาในคำร้องเท่านั้น
พิพากษายืน
แม้หนังสือสัญญาจำนองและข้อตกลงต่อท้ายสัญญาจำนองกำหนดให้ผู้ร้องคิดดอกเบี้ยได้ในอัตราร้อยละ 18.5 ต่อปีและทรัพย์สินซึ่งจำนองย่อมเป็นประกันเพื่อการชำระหนี้กับทั้งค่าอุปกรณ์คือดอกเบี้ยตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 715(1) ก็ตามแต่ตามคำร้องของผู้ร้อง ผู้ร้องยื่นคำร้องขอรับชำระหนี้จำนองโดยยังมิได้เป็นเจ้าหนี้ตามคำพิพากษา เพียงแต่ขอรับชำระหนี้จนถึงวันที่ 21 มีนาคม 2532 โดยมิได้คำนวณดอกเบี้ยนับแต่วันที่ 21 มีนาคม 2532 จนถึงวันยื่นคำร้องขอรับชำระหนี้จำนอง(วันที่ 27 มีนาคม 2532) และไม่ได้เรียกดอกเบี้ยนับแต่วันยื่นคำร้องจนถึงวันขายทอดตลาดมาด้วย ในเรื่องดอกเบี้ยจะเห็นได้ว่าผู้ร้องมิได้มีคำขอมาในคำร้องแต่อย่างใด ศาลจึงมิอาจมีคำสั่งให้สิ่งใด ๆ เกินไปกว่าหรือนอกจากที่ปรากฏในคำร้องเพราะต้องห้ามตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 142 วรรคแรก
กรณีสืบเนื่องมาจากโจทก์ฟ้องขอให้บังคับจำเลยชำระหนี้ตามสัญญากู้พร้อมดอกเบี้ย แต่จำเลยไม่ชำระหนี้ตามคำพิพากษาโจทก์จึงบังคับคดีนำยึดที่ดินตามหนังสือรับรองการทำประโยชน์(น.ส.3 ก.) ซึ่งมีชื่อจำเลยเป็นผู้ถือสิทธิครอบครอง เพื่อขายทอดตลาดนำเงินมาชำระหนี้ตามคำพิพากษา
ผู้ร้องยื่นคำร้องลงวันที่ 27 มีนาคม 2532 ว่า ที่ดินที่โจทก์นำเจ้าพนักงานบังคับคดียึดไว้นั้น จำเลยได้จดทะเบียนจำนองเพื่อประกันการที่ผู้ร้องรับรองตั๋วแลกเงินแก่บริษัทจุรีชัย จำกัด และเพียงวันที่ 21 มีนาคม 2532 บริษัทจุรีชัยจำกัด เป็นหนี้ผู้ร้องตามสัญญาจำนองเป็นเงิน 396,026.13 บาทดังนั้นเมื่อเจ้าพนักงานบังคับคดีขายทอดตลาดที่ดินแปลงดังกล่าวแล้ว ผู้ร้องขอรับชำระหนี้ในฐานะเจ้าหนี้บุริมสิทธิต่อไป
โจทก์ไม่คัดค้านคำร้อง
จำเลยได้รับสำเนาคำร้องแล้ว แต่มิได้ยื่นคำคัดค้าน
ศาลชั้นต้นมีคำสั่งอนุญาตให้ผู้ร้องได้รับชำระหนี้จำนองก่อนเจ้าหนี้อื่น
ต่อมาผู้ร้องยื่นคำร้องว่า เจ้าพนักงานบังคับคดีขายทอดตลาดที่ดินของจำเลยเมื่อวันที่ 13 พฤษภาคม 2534 เจ้าพนักงานบังคับคดีทำบัญชีแสดงรายการรับจ่ายเงินสิ้นสุดเพียงวันที่ 13 พฤษภาคม 2534ให้จ่ายเงินชำระหนี้จำนองแก่ผู้ร้อง 396,026.13 บาท โดยไม่ได้คิดดอกเบี้ยนับจากวันที่ 21 มีนาคม 2532 ถึงวันที่ 13 พฤษภาคม 2534ให้แก่ผู้ร้อง จึงขอให้มีคำสั่งให้เจ้าพนักงานบังคับคดีทำบัญชีแสดงรายการรับจ่ายเงินเสียใหม่ โดยคิดดอกเบี้ยให้ผู้ร้องถึงวันขายทอดตลาดทรัพย์
โจทก์ยื่นคำคัดค้านว่า ผู้ร้องขอรับชำระหนี้จำนองโดยมิได้ขอรับชำระดอกเบี้ยต่อจากวันที่ 21 มีนาคม 2532 ขอให้ยกคำร้อง
ศาลชั้นต้นพิจารณาแล้วให้ยกคำร้องของผู้ร้อง
ผู้ร้องอุทธรณ์
ศาลอุทธรณ์ภาค 1 พิพากษายืน
ผู้ร้องฎีกา
ศาลฎีกาวินิจฉัยว่า แม้หนังสือสัญญาจำนองและข้อตกลงต่อท้ายสัญญาจำนองจะกำหนดให้ผู้ร้องคิดดอกเบี้ยได้ในอัตราร้อยละ 18.5 ต่อปี และทรัพย์สินซึ่งจำนองย่อมเป็นประกันเพื่อการชำระหนี้กับทั้งค่าอุปกรณ์คือดอกเบี้ยตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 715(1) ก็ตาม แต่ตามคำร้องของผู้ร้องผู้ร้องยื่นคำร้องขอรับชำระหนี้จำนองโดยผู้ร้องยังมิได้เป็นเจ้าหนี้ตามคำพิพากษาเพียงแต่บรรยายมาในคำร้องว่าจำเลยนำที่ดินมาจดจำนองเพื่อเป็นการค้ำประกันการรับรองตั๋วแลกเงินของผู้ร้องที่รับรองแก่บริษัทจุรีชัย จำกัด และเพียงสิ้นวันที่ 21 มีนาคม 2532 บริษัทจุรีชัย จำกัด เป็นหนี้ผู้ร้องตามสัญญาจำนองอยู่ทั้งสิ้น 396,026.13 บาท ขอรับชำระหนี้ในฐานะเจ้าหนี้บุริมสิทธิ์เท่านั้น โดยผู้ร้องมิได้คำนวณดอกเบี้ยนับแต่วันที่ 21 มีนาคม 2532 จนถึงวันยื่นคำร้องขอรับชำระหนี้จำนอง (วันที่ 27 มีนาคม 2532) และไม่ได้เรียกดอกเบี้ยนับแต่วันยื่นคำร้องจนถึงวันขายทอดตลาดมาด้วย ดังนั้น ในเรื่องดอกเบี้ยจะเห็นได้ว่าผู้ร้องมิได้มีคำขอมาในคำร้องแต่อย่างใดศาลจึงไม่อาจมีคำสั่งให้สิ่งใด ๆ เกินไปกว่าหรือนอกจากที่ปรากฏในคำร้อง เพราะต้องห้ามตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 142 วรรคแรก ที่ศาลชั้นต้นมีคำสั่งอนุญาตให้ผู้ร้องได้รับชำระหนี้จำนองก่อนเจ้าหนี้อื่นมีความหมายเพียงว่าให้ผู้ร้องได้รับชำระหนี้จำนองตามที่ผู้ร้องขอมาในคำร้องเท่านั้น
พิพากษายืน
ผู้ร้องยื่นคำร้องขอรับชำระหนี้จำนองโดยผู้ร้องยังมิได้เป็นเจ้าหนี้ตามคำพิพากษา มิได้คำนวณดอกเบี้ยจนถึงวันยื่นคำร้องขอรับชำระหนี้จำนองและไม่ได้เรียกดอกเบี้ยนับแต่วันยื่นคำร้องจนถึงวันขายทอดตลาดมาด้วย ศาลจึงไม่อาจมีคำสั่งให้เกินไปกว่าหรือนอกจากที่ปรากฏในคำร้องเพราะต้องห้ามตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 142 วรรคแรก
กรณีสืบเนื่องมาจากศาลชั้นต้นพิพากษาให้จำเลยชำระเงินจำนวน 28,400 บาท พร้อมดอกเบี้ยแก่โจทก์ แต่จำเลยไม่ชำระโจทก์จึงบังคับคดีนำยึดที่ดินตามหนังสือรับรองการทำประโยชน์(น.ส.3 ก.) เลขที่ 429 เพื่อขายทอดตลาดนำเงินมาชำระหนี้ตามคำพิพากษา
ผู้ร้องยื่นคำร้องว่า ที่ดินที่โจทก์นำเจ้าพนักงานบังคับคดียึดไว้นั้น จำเลยได้จดทะเบียนจำนองเพื่อประกันการที่ผู้ร้องรับรองตั๋วแลกเงินแก่บริษัทจุรีชัย จำกัด และเพียงวันที่ 21 มีนาคม2532 บริษัทจุรีชัย จำกัด เป็นหนี้ผู้ร้องตามสัญญาจำนองเป็นเงิน396,026.13 บาท ดังนั้นเมื่อเจ้าพนักงานบังคับคดีขายทอดตลาดที่ดินแปลงดังกล่าวแล้ว ผู้ร้องขอรับชำระหนี้ในฐานะเจ้าหนี้บุริมสิทธิต่อไป
โจทก์ไม่คัดค้านคำร้อง
จำเลยได้รับสำเนาคำร้องแล้ว แต่มิได้ยื่นคำคัดค้าน
ศาลชั้นต้นมีคำสั่งอนุญาตให้ผู้ร้องได้รับชำระหนี้จำนองก่อนเจ้าหนี้อื่น
ต่อมาผู้ร้องยื่นคำร้องลงวันที่ 27 ธันวาคม 2534 ว่าเจ้าพนักงานบังคับคดีขายทอดตลาดที่ดินของจำเลยเมื่อวันที่ 13พฤษภาคม 2534 โดยผู้ร้องเป็นผู้ซื้อทรัพย์ในราคา 520,000 บาทเจ้าพนักงานบังคับคดีทำบัญชีแสดงรายการรับจ่ายเงินสิ้นสุดเพียงวันที่ 13 พฤษภาคม 2534 ให้จ่ายเงินชำระหนี้จำนองแก่ผู้ร้อง396,026.13 บาท โดยมิได้คิดดอกเบี้ยนับจากวันที่ 21 มีนาคม 2532ถึงวันที่ 13 พฤษภาคม 2534 ให้แก่ผู้ร้อง ตามคำร้องขอรับชำระหนี้จำนอง ผู้ร้องได้เสนอสัญญาจำนองท้ายคำร้องซึ่งระบุว่า จำเลยยอมเสียดอกเบี้ยอัตราร้อยละ 18.5 ต่อปี จากต้นเงิน 250,000 บาทจึงขอให้มีคำสั่งให้เจ้าพนักงานบังคับคดีทำบัญชีแสดงรายการรับจ่ายเงินเสียใหม่ โดยคิดดอกเบี้ยให้ผู้ร้องถึงวันขายทอดตลาดทรัพย์
โจทก์ยื่นคำคัดค้านว่า ผู้ร้องขอรับชำระหนี้จำนองโดยมิได้ขอรับชำระดอกเบี้ยต่อจากวันที่ 21 มีนาคม 2532 ขอให้ยกคำร้อง
ศาลชั้นต้นวินิจฉัยว่า ผู้ร้องขอรับชำระหนี้จำนองโดยคำนวณหนี้ถึงวันที่ 21 มีนาคม 2532 โดยมิได้ขอคิดดอกเบี้ยต่อจากวันดังกล่าว เจ้าพนักงานบังคับคดีคำนวณยอดหนี้ให้ผู้ร้องตามบัญชีแสดงรายการรับจ่ายเงินชอบแล้ว ให้ยกคำร้องของผู้ร้อง
ผู้ร้องอุทธรณ์
ศาลอุทธรณ์ภาค 1 พิพากษายืน
ผู้ร้องฎีกา
ศาลฎีกาวินิจฉัยว่า "มีปัญหาวินิจฉัยตามที่ผู้ร้องฎีกาว่าผู้ร้องยื่นคำร้องขอรับชำระหนี้ในฐานะเจ้าหนี้บุริมสิทธิโดยมีการจำนองจึงต้องคิดดอกเบี้ยให้ผู้ร้องตามกฎหมาย และผู้ร้องได้นำส่งสำเนาคำร้องให้แก่เจ้าพนักงานบังคับคดีกับได้แนบหนังสือสัญญาจำนอง และข้อตกลงต่อท้ายสัญญาจำนองกำหนดให้ผู้ร้องคิดดอกเบี้ยได้ในอัตราร้อยละ 18.5 ต่อปี จึงเป็นสิทธิที่ผู้ร้องจะต้องได้รับดอกเบี้ยตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 715(1)นั้น ศาลฎีกาเห็นว่า แม้หนังสือสัญญาจำนองและข้อตกลงต่อท้ายสัญญาจำนองจะกำหนดให้ผู้ร้องคิดดอกเบี้ยได้ในอัตราร้อยละ 18.5 ต่อปีและทรัพย์สินซึ่งจำนองย่อมเป็นประกันเพื่อการชำระหนี้กับทั้งค่าอุปกรณ์คือดอกเบี้ยตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 715(1)ก็ตาม แต่ตามคำร้องของผู้ร้อง ผู้ร้องยื่นคำร้องขอรับชำระหนี้จำนองโดยผู้ร้องยังมิได้เป็นเจ้าหนี้ตามคำพิพากษา เพียงแต่บรรยายมาในคำร้องว่าจำเลยนำที่ดินตาม น.ส.3 ก. เลขที่ 429 เล่ม 5 ก.หน้า 29 ตำบลหนองบุนนาก อำเภอหนองบุนนาก จังหวัดนครราชสีมามาจดจำนองเพื่อเป็นการค้ำประกันการรับรองตั๋วแลกเงินของผู้ร้องที่รับรองแก่บริษัทจุรีชัย จำกัด และเพียงสิ้นวันที่ 21 มีนาคม2532 บริษัทจุรีชัย จำกัด เป็นหนี้ผู้ร้องตามสัญญาจำนองอยู่ทั้งสิ้น 396,026.13 บาท ขอรับชำระหนี้ในฐานะเจ้าหนี้บุริมสิทธิเท่านั้น โดยผู้ร้องมิได้คำนวณดอกเบี้ยนับแต่วันที่ 21 มีนาคม2532 จนถึงวันยื่นคำร้องขอรับชำระหนี้จำนอง (วันที่ 27 มีนาคม 2532)และไม่ได้เรียกดอกเบี้ยนับแต่วันยื่นคำร้องจนถึงวันขายทอดตลาดมาด้วย ดังนั้น ในเรื่องดอกเบี้ยจะเห็นได้ว่าผู้ร้องมิได้มีคำขอมาในคำร้องแต่อย่างใด ศาลจึงไม่อาจมีคำสั่งให้สิ่งใด ๆเกินไปกว่าหรือนอกจากที่ปรากฏในคำร้อง เพราะต้องห้ามตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 142 วรรคแรก ที่ศาลชั้นต้นมีคำสั่งอนุญาตให้ผู้ร้องได้รับชำระหนี้จำนองก่อนเจ้าหนี้อื่นมีความหมายเพียงว่า ให้ผู้ร้องได้รับชำระหนี้จำนองตามที่ผู้ร้องขอมาในคำร้องเท่านั้น ที่ศาลล่างทั้งสองมีคำสั่งและคำพิพากษามานั้น ศาลฎีกาเห็นพ้องด้วย ฎีกาผู้ร้องฟังไม่ขึ้น"
พิพากษายืน
ผู้ร้องยื่นคำร้องขอรับชำระหนี้จำนองโดยผู้ร้องยังมิได้เป็นเจ้าหนี้ตามคำพิพากษา มิได้คำนวณดอกเบี้ยจนถึงวันยื่นคำร้องขอรับชำระหนี้จำนองและไม่ได้เรียกดอกเบี้ยนับแต่วันยื่นคำร้องจนถึงวันขายทอดตลาดมาด้วย ศาลจึงไม่อาจมีคำสั่งให้เกินไปกว่าหรือนอกจากที่ปรากฏในคำร้องเพราะต้องห้ามตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 142 วรรคแรก
กรณีสืบเนื่องมาจากศาลชั้นต้นพิพากษาให้จำเลยชำระเงินจำนวน 28,400 บาท พร้อมดอกเบี้ยแก่โจทก์ แต่จำเลยไม่ชำระโจทก์จึงบังคับคดีนำยึดที่ดินตามหนังสือรับรองการทำประโยชน์(น.ส.3 ก.) เลขที่ 429 เพื่อขายทอดตลาดนำเงินมาชำระหนี้ตามคำพิพากษา
ผู้ร้องยื่นคำร้องว่า ที่ดินที่โจทก์นำเจ้าพนักงานบังคับคดียึดไว้นั้น จำเลยได้จดทะเบียนจำนองเพื่อประกันการที่ผู้ร้องรับรองตั๋วแลกเงินแก่บริษัทจุรีชัย จำกัด และเพียงวันที่ 21 มีนาคม2532 บริษัทจุรีชัย จำกัด เป็นหนี้ผู้ร้องตามสัญญาจำนองเป็นเงิน396,026.13 บาท ดังนั้นเมื่อเจ้าพนักงานบังคับคดีขายทอดตลาดที่ดินแปลงดังกล่าวแล้ว ผู้ร้องขอรับชำระหนี้ในฐานะเจ้าหนี้บุริมสิทธิต่อไป
โจทก์ไม่คัดค้านคำร้อง
จำเลยได้รับสำเนาคำร้องแล้ว แต่มิได้ยื่นคำคัดค้าน
ศาลชั้นต้นมีคำสั่งอนุญาตให้ผู้ร้องได้รับชำระหนี้จำนองก่อนเจ้าหนี้อื่น
ต่อมาผู้ร้องยื่นคำร้องลงวันที่ 27 ธันวาคม 2534 ว่าเจ้าพนักงานบังคับคดีขายทอดตลาดที่ดินของจำเลยเมื่อวันที่ 13พฤษภาคม 2534 โดยผู้ร้องเป็นผู้ซื้อทรัพย์ในราคา 520,000 บาทเจ้าพนักงานบังคับคดีทำบัญชีแสดงรายการรับจ่ายเงินสิ้นสุดเพียงวันที่ 13 พฤษภาคม 2534 ให้จ่ายเงินชำระหนี้จำนองแก่ผู้ร้อง396,026.13 บาท โดยมิได้คิดดอกเบี้ยนับจากวันที่ 21 มีนาคม 2532ถึงวันที่ 13 พฤษภาคม 2534 ให้แก่ผู้ร้อง ตามคำร้องขอรับชำระหนี้จำนอง ผู้ร้องได้เสนอสัญญาจำนองท้ายคำร้องซึ่งระบุว่า จำเลยยอมเสียดอกเบี้ยอัตราร้อยละ 18.5 ต่อปี จากต้นเงิน 250,000 บาทจึงขอให้มีคำสั่งให้เจ้าพนักงานบังคับคดีทำบัญชีแสดงรายการรับจ่ายเงินเสียใหม่ โดยคิดดอกเบี้ยให้ผู้ร้องถึงวันขายทอดตลาดทรัพย์
โจทก์ยื่นคำคัดค้านว่า ผู้ร้องขอรับชำระหนี้จำนองโดยมิได้ขอรับชำระดอกเบี้ยต่อจากวันที่ 21 มีนาคม 2532 ขอให้ยกคำร้อง
ศาลชั้นต้นวินิจฉัยว่า ผู้ร้องขอรับชำระหนี้จำนองโดยคำนวณหนี้ถึงวันที่ 21 มีนาคม 2532 โดยมิได้ขอคิดดอกเบี้ยต่อจากวันดังกล่าว เจ้าพนักงานบังคับคดีคำนวณยอดหนี้ให้ผู้ร้องตามบัญชีแสดงรายการรับจ่ายเงินชอบแล้ว ให้ยกคำร้องของผู้ร้อง
ผู้ร้องอุทธรณ์
ศาลอุทธรณ์ภาค 1 พิพากษายืน
ผู้ร้องฎีกา
ศาลฎีกาวินิจฉัยว่า "มีปัญหาวินิจฉัยตามที่ผู้ร้องฎีกาว่าผู้ร้องยื่นคำร้องขอรับชำระหนี้ในฐานะเจ้าหนี้บุริมสิทธิโดยมีการจำนองจึงต้องคิดดอกเบี้ยให้ผู้ร้องตามกฎหมาย และผู้ร้องได้นำส่งสำเนาคำร้องให้แก่เจ้าพนักงานบังคับคดีกับได้แนบหนังสือสัญญาจำนอง และข้อตกลงต่อท้ายสัญญาจำนองกำหนดให้ผู้ร้องคิดดอกเบี้ยได้ในอัตราร้อยละ 18.5 ต่อปี จึงเป็นสิทธิที่ผู้ร้องจะต้องได้รับดอกเบี้ยตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 715(1)นั้น ศาลฎีกาเห็นว่า แม้หนังสือสัญญาจำนองและข้อตกลงต่อท้ายสัญญาจำนองจะกำหนดให้ผู้ร้องคิดดอกเบี้ยได้ในอัตราร้อยละ 18.5 ต่อปีและทรัพย์สินซึ่งจำนองย่อมเป็นประกันเพื่อการชำระหนี้กับทั้งค่าอุปกรณ์คือดอกเบี้ยตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 715(1)ก็ตาม แต่ตามคำร้องของผู้ร้อง ผู้ร้องยื่นคำร้องขอรับชำระหนี้จำนองโดยผู้ร้องยังมิได้เป็นเจ้าหนี้ตามคำพิพากษา เพียงแต่บรรยายมาในคำร้องว่าจำเลยนำที่ดินตาม น.ส.3 ก. เลขที่ 429 เล่ม 5 ก.หน้า 29 ตำบลหนองบุนนาก อำเภอหนองบุนนาก จังหวัดนครราชสีมามาจดจำนองเพื่อเป็นการค้ำประกันการรับรองตั๋วแลกเงินของผู้ร้องที่รับรองแก่บริษัทจุรีชัย จำกัด และเพียงสิ้นวันที่ 21 มีนาคม2532 บริษัทจุรีชัย จำกัด เป็นหนี้ผู้ร้องตามสัญญาจำนองอยู่ทั้งสิ้น 396,026.13 บาท ขอรับชำระหนี้ในฐานะเจ้าหนี้บุริมสิทธิเท่านั้น โดยผู้ร้องมิได้คำนวณดอกเบี้ยนับแต่วันที่ 21 มีนาคม2532 จนถึงวันยื่นคำร้องขอรับชำระหนี้จำนอง (วันที่ 27 มีนาคม 2532)และไม่ได้เรียกดอกเบี้ยนับแต่วันยื่นคำร้องจนถึงวันขายทอดตลาดมาด้วย ดังนั้น ในเรื่องดอกเบี้ยจะเห็นได้ว่าผู้ร้องมิได้มีคำขอมาในคำร้องแต่อย่างใด ศาลจึงไม่อาจมีคำสั่งให้สิ่งใด ๆเกินไปกว่าหรือนอกจากที่ปรากฏในคำร้อง เพราะต้องห้ามตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 142 วรรคแรก ที่ศาลชั้นต้นมีคำสั่งอนุญาตให้ผู้ร้องได้รับชำระหนี้จำนองก่อนเจ้าหนี้อื่นมีความหมายเพียงว่า ให้ผู้ร้องได้รับชำระหนี้จำนองตามที่ผู้ร้องขอมาในคำร้องเท่านั้น ที่ศาลล่างทั้งสองมีคำสั่งและคำพิพากษามานั้น ศาลฎีกาเห็นพ้องด้วย ฎีกาผู้ร้องฟังไม่ขึ้น"
พิพากษายืน
|
ผู้ส่งข้อความ | วันที่ส่งข้อความ | ข้อความ | action |
---|